Dulwich กับสังคมไทย
อานันท์ ปันยารชุน ศึกษาระดับมัธยมที่อังกฤษที่ Dulwich College ในปี 2491 ตามคำแนะนำของพระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) ซึ่งเป็นศิษย์เก่าที่นี่ในฐานะเป็นเพื่อนกับบิดาของเขา
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2548)
สะพานสู่สันติภาพ
หลังผ่านพ้นการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดผู้นำเอเชีย-แปซิฟิก (Apec
Summit) ไปแล้ว ประเทศไทยกำลังจะได้เป็นเจ้าภาพงานใหญ่ และสำคัญอีกงานหนึ่ง
นั่นคืองาน "สานสัมพันธ์สู่สันติวัฒนธรรม" (Bridges : Dialogues Towards
a Cultural of Peace) ซึ่งจัดโดยมูลนิธิสันติภาพนานาชาติ (Inter-national
Peace Foundation : IPF) ร่วมกับสถาบันต่างๆ ในไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2546)
อานันท์ ปันยารชุน "ถึงเวลาที่เราต้องกลับไปสู่สิ่งที่เรียกว่า พื้นฐาน"
อานันท์ ปันยารชุน กล่าวในงานสัมมนาทางรอดของเศรษฐกิจไทย ของสมาคมนักเศรษฐศาสตร์แห่งประเทศไทย
ว่า ทุกๆ ครั้งที่มีวิกฤติ เราอย่ามองในทางลบอย่างเดียว เราต้องมองด้วยว่าวิกฤตินี้จะเป็นโอกาสให้กับเรา
จุดนี้เป็นจุดที่บริษัทต่างๆ ในภาคเอกชน จะต้องตรวจสอบด้วยตัวเองอย่างละเอียดถี่ถ้วน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2541)
"ความเสี่ยงของดอนเมืองโทลล์เวย์"
"ดอนเมืองโทลล์เวย์" นับเป็นโครงการแก้ปัญหาจราจรที่ผ่านมรสุมมามากพอสมควร
นับแต่ปัญหาที่รัฐบาลอานันท์เสนอทางเลือกไม่ให้ทุบสะพานลอย 2 แห่งแต่โครงการหมื่นล้านนี้ก็ยังมีปัญหาความเสี่ยงหลายอย่าง พวกเขาจะแก้ปัญหากับความเสี่ยงเหล่านั้นอย่างไร ???"
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2535)
"บทบาทการเมืองครั้งแรกของสหยูเนียน"
อานันท์ ปันยารชุน เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยท่ามกลางความยินดีท่วมท้นของคนส่วนใหญ่เมื่อวันที่
10 มิถุนายน ดัชนีหุ้นในวันรุ่งขึ้นพุ่งพรวดถึง 49.85 จุดหรือประมาณ 8% มีมูลค่าซื้อขายถึง
11,680.7 ล้าน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)