"เจริญ : ผู้ยิ่งใหญ่วงการที่ดินตัวจริง"
เขาไม่เคยมีมรดกที่ดินมาก่อน แต่เมื่อเขาเข้าสู่วงการธุรกิจผลิตและค้าสุราอย่างเต็มตัว
สินทรัพย์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นที่ดิน กิจการอุตสาหกรรม ธนาคาร บริษัทประกันภัย
ก็อยู่ภายใต้การครอบครองของเขาในเวลาอันรวดเร็ว เพียง 6 ปีเท่านั้น เขาสร้างสินทรัพย์เหล่านี้มาด้วยวิธีการใด
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2532)
พันธุ์ทิพย์พลาซ่า ถึงยุคหัวเลี้ยวหัวต่อเจริญอาจขายทิ้ง
เจริญ สิริวัฒนภักดี เข้ามาซื้อหนี้ทั้งหมดของกลุ่มบุนนาคที่ติดค้างอยู่กับเจ้าหนี้รายใหญ่แบงก์ไทยทนุ
และบงล.ภัทรธนกิจ กว่า 500 ล้านบาทในโครงการอสังหาริมทรัพย์ พันธุ์ทิพย์พลาซ่าที่ล้มเหลวมาตลอด
เขาพยายามฟื้นฟูทรัพย์สินตัวนี้ โดยให้กลุ่มทีซีมัยซินของเฉลียว อยู่วิทยา
เข้ามาบริหาร
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2532)
เจริญ ศรีสมบูรณานนท์ นักซื้อที่แท้จริง?
The Man Behind...อาจจะเรียกขานเขาเช่นนั้นได้ เจริญ ศรีสมบูรณานนท์ เป็นตัวอย่างของคนหนุ่มกับยุคสมัยใหม่
ที่เวทีธุรกิจช่างคับแคบเหลือเกิน แต่เขาก็สามารถดันตัวเองขึ้นมาได้อย่างน่าพิศวง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
ตำนานเหล้าการเมือง "หงส์กระหายเลือด"
และแล้วสงครามเหล้าก็เกิดขึ้น แสงโสมที่ตอนหลังต้องกลายเป็นโสม การเข้าซื้อโรงงานสุราธาราวิสกี้ที่นครไชยศรี คือการวางแผนล่วงหน้าอันแยบยลของกลุ่มเถลิง
เมื่อพลาดจากการประมูลเข้าทำสุราแม่โขง แผนการถล่ม "แม่โขง" จึงเกิดขึ้นทันที
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2528)