Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Profile Photo

industry
company
people
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ14  
Positioning1  
ผู้จัดการรายวัน41  
Total 56  

Listed Company
Manager Lists
 
People > วิโรจน์ นวลแข


นิตยสารผู้จัดการ (1 - 10 of 14 items)
3 เดือนแห่งความคลุมเครือ 26 ก.ค.2547 คณะกรรมการ KTB มีมติรับวิโรจน์ให้กลับมารับ ตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ต่ออีก 1 สมัย ในขณะที่กระแสข่าวเรื่อง NPLs ของธนาคารที่เพิ่มขึ้น 4.6 หมื่นล้านบาทจากลูกหนี้ 14 ราย กำลังกดดันราคาหุ้น KTB ในตลาด(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2547)
ละเลย? ในที่สุดความคลุมเครือที่กดดันราคาหุ้นของธนาคารกรุงไทย (KTB) มากว่า 3 เดือน ก็ถูกเฉลยออกมาแล้วว่ามีสาเหตุมาจากความต้องการสกัดกั้นการกลับเข้ามารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ รอบ 2 ของวิโรจน์ นวลแข ที่พ้นจากตำแหน่งหลังหมดวาระไปเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2547)
100 กว่า Meeting ใน 2 สัปดาห์ การออกไปโรดโชว์ เพื่อกระจายหุ้นของธนาคารกรุงไทย ทำกันในช่วง 2 สัปดาห์ครึ่ง ก่อนวันที่ 8 ตุลาคม 2546 ซึ่งกำหนดให้เป็นวันทำ Book Building ซึ่งถือเป็นขั้นตอนสุดท้าย ก่อนเริ่มเปิดขายให้นักลงทุนจองซื้อในวันรุ่งขึ้น(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2547)
เรื่องที่ยังต้องปรับปรุง ช่วงสายของวันที่ 7 กรกฎาคม บรรยากาศบริเวณชั้นล่างของธนาคารกรุงไทย มีความคึกคักเป็นพิเศษ เพราะเป็นวันที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี มีกำหนดการเดินทางมาเยี่ยมชมกิจการของธนาคารแห่งนี้ ถือเป็นหนึ่งในนายกรัฐมนตรีเพียงไม่กี่คน ที่แสดงท่าทีว่าให้ความสนใจต่อการดำเนินงานของธนาคารกรุงไทยอย่างจริงจัง(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
New Culture Character Strategy 2 ปีที่วิโรจน์ นวลแข เข้ามาอยู่ในธนาคารกรุงไทย เขากล้าที่จะเปลี่ยนแปลงหลายสิ่งหลายอย่างในธนาคารรัฐวิสาหกิจแห่งนี้ ซึ่งเป็นสิ่งที่กรรมการผู้จัดการใหญ่คนเก่าๆไม่เคยคิดว่าจะทำได้ หรือแม้แค่มีความคิดว่าจะทำมาก่อน(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
นกวายุภักษ์ในรูปลักษณ์ใหม่ การตัดสินใจเปลี่ยนแปลงสัญลักษณ์ของธนาคารกรุงไทย ถือเป็นสัญญาณที่แสดงให้เห็นถึงความตั้งใจอันแน่วแน่ที่วิโรจน์ นวลแข ต้องการจะเปลี่ยนบุคลิกภาพของธนาคารแห่งนี้(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
Outsource & Privatization แนวทางการลดต้นทุน แนวทางหนึ่งในการลดต้นทุนของธนาคารกรุงไทยคือธุรกรรม และกิจกรรมใดๆ ที่ไม่ได้เกี่ยวพันกับธุรกิจหลักของธนาคาร จะใช้วิธี ว่าจ้างจากบุคคลภายนอกทั้งหมด(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
GFMIS : The Big Project GFMIS : Government Financial Management Information System เป็นระบบที่ธนาคารกรุงไทย ได้เข้าไปมีบทบาทในการช่วยกรมบัญชีกลาง วางเครือข่าย ในการจ่ายเงิน เบิกเงิน ชำระเงินของหน่วยราชการทั้งประเทศ(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
KTC ต้นแบบการแปรรูปบริษัทในเครือ เพียงแค่ 6 ปี บัตรกรุงไทยสามารถก้าวขึ้นเป็นผู้นำ ในธุรกิจบัตรเครดิต แซงหน้าซิตี้แบงก์ ยักษ์ใหญ่ ลงอย่างราบคาบ นับเป็นการตัดสินใจที่ถูกต้อง ของธนาคารกรุงไทยที่แปรรูปบริษัทลูกนี้ออกไป(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
วิโรจน์ นวลแข ภารกิจสร้าง Lead Bank และธนาคารชุมชน วิโรจน์ นวลแข เริ่มต้นการทำงานในธนาคารกรุงไทยเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม ตามสัญญาเขามีวาระในการดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ในธนาคารแห่งนี้เพียง 3 ปี แต่ดูเหมือนการเริ่มต้นของเขามีเป้าหมายที่ชัดเจน ในการสร้างธนาคารนำของรัฐ และกับธนาคารชุมชน ซึ่งถือเป็นครั้งแรกที่ธนาคารรัฐแห่งนี้(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2544)

Page: 1 | 2





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us