"ธีรพงษ์-กรพจน์-และศุภพงษ์ สามหนุ่มสามมุม "อัศวินวิจิตร"
"ไม่เอา…ไม่พูด" เสียงปฏิเสธจากปากของกรพจน์ อัศวินวิจิตรที่ถูกนักข่าวรุมล้อมขอสัมภาษณ์เกี่ยวกับปัญหาค้างคาใจเรื่องเพิ่มทุนในสหธนาคาร ท่ามกลางงานเลี้ยงเปิดตัวบริษัทพรูเด็นเชียล ทีเอสไลฟ์ ประกันชีวิต ซึ่งกลุ่มธุรกิจของตระกูลอัศวินวิจิตรถือหุ้นอยู่ 30% และบางส่วนถือในนามสามพี่น้อง ได้แก่พี่ใหญ่-ธีรพงษ์ พี่กลาง-กรพจน์ และน้องเล็ก-ศุภพงษ์ อัศวินวิจิตร
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2538)
กรพจน์ อัศวินวิจิตร ติวเข้มงานการเมือง
นักธุรกิจหนุ่มวัย 30 กว่าปีคนนี้ไม่ได้หายหน้าค่าตาไปไหน แต่กำลังขะมักเข้มฝึกฝนบทเรียนทางการเมืองอย่างหนักในฐานะสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติที่แต่งตั้งโดยคณะกรรมการรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ
และ 1 ใน 25 ของคณะกรรมาธิการพิจารณาแปรญัตติร่างรัฐธรรมนูญที่มีโอสถ โกศิน
เป็นประธานฯ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
สหธนาคาร : ข่าวลือที่มากับลมร้อน
การประชุมผู้ถือหุ้นของธนาคารสหธนาคารประจำปี 2533 เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม
ผ่านพ้นไปด้วยความเรียบร้อยสร้างความผิดหวังให้กับนักสังเกตการณ์วงนอกที่ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียแต่อยากเห็นการได้เสียเกิดขึ้นเป็นอันมากไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2533)
สงครามยึดแบงก์สหธนาคาร
เกมการช่วงชิงอำนาจบริหารที่สหธนาคารเริ่มปะทุมาตั้งแต่เมื่อต้นปี 2528
แต่เหตุการณ์ไม่ได้รุนแรงจนถึงขั้นแตกหัก ทั้งนี้เพราะได้มีการประนีประนอมจัดสรรแบ่งอำนาจกันได้ระดับหนึ่ง
แต่นับจากวันนั้นเรื่อยมาทุกฝ่ายก็รู้กันเป็นนัยว่า ในไม่ช้าจะต้องเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ขึ้นเป็นแน่
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2532)
แบงก์แหลมทอง-สหธนาคารร่องรอยประวัติศาสตร์และทางแยก
นักประวัติศาสตร์ธุรกิจมักจะสรุปความเห็นสอดคล้องต้องกันว่า ยามใดที่เกิดวิกฤตการณ์ความขัดแย้งที่ธนาคารแหลมทองแล้ว
มักจะติดตามมาด้วยสหธนาคาร วนเวียนเช่นนี้เรื่อยไป แม้สงครามล่าสุดในธนาคารแหลมทองใกล้ยุตินี้นั้น
เรื่องราวในสหธนาคารก็ทำท่าจะใกล้จุดไคลแม็กซ์เข้าไปทุกที
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2530)
กรพจน์ อัศวินวิจิตรA YOUNG DEAL MAKER
ในยุคธุรกิจดั้งเดิมมีปัญหาการ "สืบต่อ" และปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ใหม่
กรพจน์ อัศวินวิจิตร เป็นคนหนุ่มอายุน้อยคนหนึ่ง เป็นแบบอย่างที่ดีของการ
"สืบต่อ"
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2530)
NEW GENERATION อยากให้ปิยะบุตร-เศรณี-กรพจน์ จับมือกัน
สหธนาคารเป็นธนาคารที่เหลือไม่กี่แห่งที่บริหารงานโดย GENERATION เดียว เหตุผลหนึ่งที่น่ากล่าวถึง คือ บรรเจิด ชลวิจารณ์ และชำนาญ เพ็ญชาติ ผู้ถือหุ้นใหญ่
(ที่มีเหตุผลชอบธรรม) บริหารธนาคารนี้ปัจจุบันทายาทของตระกูลอายุน้อยเกินไป
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2529)