'ยนตรกิจ' เลิกขาย 'บีเอ็ม' ตัวแปรสำคัญคือโฟล์กกรุ๊ป
ความตกต่ำของตลาดรถยนต์เมืองไทยในช่วงกว่า 1 ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะตลาดรถยนต์นั่งระดับหรูหรานั้น
ได้สร้างปัญหาให้กับผู้ค้าในตลาดนี้อย่างมากในทุกยี่ห้อ
และดูเหมือนว่า "ยนตรกิจ" กับความเหลวแหลกของบีเอ็มดับบลิวในไทย
ได้กลายเป็นปัญหาที่ดูหนักหนาที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2540)
ยนตรกิจ กรุ๊ป สนิมหรือทอง โอกาสอยู่ตรงนี้แล้ว
แหล่งข่าวระดับสูงในบริษัท ยนตรกิจ จำกัด กล่าวว่า "ขณะนี้บริษัทได้เข้าไปดำเนินการบริหารงานภายในบริษัทคอมเมอร์เชียลมอเตอร์เวอร์ค
จำกัด ซึ่งเป็นตัวแทนจำหน่ายรถยนต์โฟล์กสวาเก้นแล้ว ทั้งนี้เพื่อต้องการขยายตลาดรถยนต์ยุโรปให้ครอบคลุมมากกว่าเดิม"
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2540)
กลุ่มยนตรกิจ กับรถมือสองที่ไม่ใช่เรื่องของมือใหม่
แม้สถานการณ์ของบีเอ็มดับบลิวในเมืองไทย จะดูถดถอยเต็มทีแต่ก็ใช่ว่าบีเอ็มดับบลิวจะหมดโอกาสเทียบเคียงเมอร์เซเดส-เบนซ์ ในตลาดเมืองไทยอีกแล้ว กลับตรงกันข้าม บีเอ็มดับบลิว มียอดจำหน่ายในปีล่าสุด เพียง 4,836 คันเท่านั้น และไม่ต้องพูดถึงว่าอัตราเติบโตมีเท่าไร
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2539)
ใครจะเป็นเจ้าตลาดรถยนต์หลบมุมเรื่องราคาหักกันที่เทคโนโลยี
หลังจากผิดหวังหน้าม่านไปตามๆ กันกับการคาดการณ์ผิดถนัดใจว่า ตลาดรถยนต์ในปีนี้จะยังคงง่อนแง่นเหลือกำลังลาก
เพราะเอาเข้าจริงกับพลิกล๊อกเป็นปีทองแบบไม่คาดฝัน เจอทีเด็ดลูกหนี้เข้าเล่นเอาค่ายรถยนต์ต่างๆ
ต้องพลิกผันกลยุทธ์ปรับตัวกันจ้าละหวั่น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
มิตรภาพร่วมเปอโยต์ - ยนตรกิจเบื้องหลังรอยยิ้มมีแต่เรื่องลับ ๆ
มรสุมเงินเยนที่โหมกระหน่ำจนค่ายรถยนต์ญี่ปุ่นต้องพังพาบไปตาม ๆ กันในระยะปีสองปีมานี้
ปลุกเอาผีที่ใกล้จะถึงป่าช้าอย่างรถยนต์ยุโรปให้ฟื้นชีพกลับคืนอย่างไม่คาดฝัน
โดยเฉพาะค่ายยนตรกิจที่เป็นตัวแทนจำหน่ายเปอโยต์ บีเอ็ม.ดับบลิว. ซึ่งรุกคืบกินตลาดอย่างเมามัน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2530)
ความซวยของยนตรกิจเหตุเพราะยอดขายบีเอ็ม, เปอร์โยต์พุ่งแรงมากไป?
นอกจากจะได้อิมเมจอย่างดีเยี่ยมจากการชนะเลิศไทยแลนด์กรังปรีซ์ไปเมื่อปลายปีที่แล้ว
ยอดขายรถยนต์นั่งส่วนบุคคลของค่ายยนตรกิจทั้ง 2 ยี่ห้อไม่ว่าจะเป็นบีเอ็มดับบลิวหรือเปอร์โยต์นั้น
ก็ดูเหมือนว่าจะยั้งกันไม่หยุดฉุดกันไม่อยู่เสียจริง ๆ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)
โครงการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลรถปิกอัพต้องชั่งน้ำหนักข้อดีข้อเสียให้รอบคอบ
โครงการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลสำหรับรถปิกอัพเป็นโครงการที่มีข้อดีตรงที่ช่วยประหยัดเงินตราต่างประเทศและการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่จะมีประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมโลหการของไทย
แต่มันเหมาะสมแล้วหรือที่คนไทยอาจจะต้องซื้อรถปิกอัพใช้ในราคาที่สูงขึ้นอย่างน้อย
10-20% จากต้นทุนของเครื่องยนต์ดีเซล "เมดอินไทยแลนด์"
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2528)