New Beetle ของเล่นใหม่เศรษฐีไทย
การมาของโฟล์คสวาเกน นิวบีทเทิ่ล ในประเทศไทย อาจจะดูช้าไปสักนิด หากเปรียบเทียบกับการเปิดตัวนิว บีทเทิ่ล ในยุโรปและอเมริกา ที่เริ่มตั้งแต่เมื่อต้นปี 1999 แต่ต้องยอมรับว่า นิว บีทเทิ่ล ได้สร้างสีสันให้กับเศรษฐีไทย และวงการรถยนต์เมืองไทยไม่น้อยอีกครั้งหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2543)
ยนตรกิจกรุ๊ป จับโฟล์คขึ้นแท่นเป็นสินค้าหลัก
ความร่วมมือระหว่างยนตรกิจ กับโฟล์คสวาเก้น ด้วยการร่วมทุนจัดตั้งบริษัทถึง 2 แห่งคือ บริษัทโฟล์คสวาเก้นลิสซิ่ง และบริษัทยนตรกิจ โฟล์คสวาเกน มาร์เก็ตติ้ง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2543)
โฟล์คสวาเกน ปาร์ตี้
ลำแสงสุดท้ายของพระอาทิตย์บนทางด่วนสายรามอินทราในวันนั้นกำลังจะหมดลง แต่งานปาร์ตี้เปิดตัว
รถโฟล์คสวาเกนใหม่ "โฟล์คสวาเกน พัสสาท" กำลังจะเริ่มขึ้นอย่างคึกคักบนถนนสายนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2543)
ยนตรกิจ กรุ๊ป สั่งลาปี 1999
สั่งลาปี 1999 หลังจากที่มีการเซ็นสัญญาร่วมธุรกิจกันระหว่างยนตรกิจ
กรุ๊ป และ โฟล์คสวาเกน กรุ๊ป เมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา ล่าสุดยนตรกิจ กรุ๊ป
ได้เดินเครื่องต้อนรับสหัสวรรษใหม่ ด้วยการจูงมือโฟล์คสวาเกน กรุ๊ป จัดตั้งบริษัท
ยนตรกิจ โฟล์คสวาเกน มาร์เก็ตติ้ง เตรียมบุกตลาดรถหรูปีค.ศ.2000 โดยทางบริษัทฯได้วางแผนทำตลาดรถยนต์โฟล์คและ
เอาดี้ให้ได้ตามเป้า 6,000 คันภายใน 2-3 ปีข้างหน้า
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)
KIA Motors บ้านหลังที่ 3 ของยนตรกิจ กรุ๊ป
บ้านหลังที่ 3 ของยนตรกิจ กรุ๊ป บรรดาบริษัทรถยนต์ที่ทำธุรกิจร่วมกับยนตรกิจ
กรุ๊ป อยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ ค่ายโฟล์กสวาเก้น กรุ๊ป จาก
เยอรมนี ภายใต้แบรนด์โฟล์ก เอาดี้ เซียท และค่ายพีเอสเอ กรุ๊ป จากฝรั่งเศส
ภายใต้แบรนด์เปอโยต์ และซีตรอง ซึ่งมาจากยุโรปทั้ง 2 ค่ายและน้องใหม่รายล่าสุดคือ
เกีย มอเตอร์ เจ้า ของแบรนด์เกีย จากเกาหลี ซึ่งน้องใหม่รายล่านี้แตกต่างจากรายอื่นโดยสิ้นเชิง
สะท้อนให้เห็นถึงรสนิยมของ ยนตรกิจ กรุ๊ป ที่มีความหลากหลายมากขึ้น จากที่นิยมแต่ของหรูระดับเฟิร์สคลาสเพียงอย่าง
เดียว ได้เพิ่มระดับอีโคโนมิกคลาสอีก เพื่อให้สอดรับกับความเป็นไปของเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน...
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2542)
วิทิต ลีนุตพงษ์ เปิดใจ
หลังจากมีการเซ็นสัญญา CKD เพื่อผลิตชิ้นส่วนและประกอบรถยนต์ค่ายโฟล์กสวาเก้น
รุ่นพัสสาทใหม่ และ เอาดี้ A6 ระหว่างยนตรกิจกับโฟล์กสวาเก้นเมื่อกลางปีที่ผ่านมา
ประเด็นที่ได้รับ ความสนใจมากที่สุดคือ "บริษัทแม่จะเข้ามาลงทุนเองอีกหรือไม่ในอนาคต"
หรือ "จะมีเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ซ้ำรอยดังกรณีของบีเอ็มดับเบิลยูหรือไม่"
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2542)
"ลีนุตพงษ์" กับฟางเส้นสุดท้าย
ความสัมพันธ์ทางธุรกิจระหว่าง BMW AG กับกลุ่มตระกูล "ลีนุตพงษ์" ที่มีมาช้านานนับตั้งแต่ปี
2504 เป็นอันต้องหักสะบั้นลง ภายหลังที่ BMW AG พลิกแผนเข้ามาลงทุนในประเทศไทยเอง
โดยไม่มีการร่วมทุนรวมกับกลุ่ม "ลีนุตพงษ์" ตามแผนที่เคยวางไว้ ท่าม
กลางความคลุมเครือที่ต่างฝ่ายต่างไม่ยอมชี้แจงถึงเหตุผลที่กระจ่างชัด ให้แต่เพียงเหตุผลกว้างๆ
ว่า "บริษัทแม่จะเข้ามาดำเนินการด้านการตลาดเอง" แต่แล้วเหตุใดบริษัทแม่จึงต้องเข้ามาสร้างโรงงานประกอบรถยนต์เองด้วยทั้งๆ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2542)
ยนตรกิจ กรุ๊ป การรอคอยที่สูญเปล่า
ยนตรกิจ กรุ๊ป บนเส้นทางที่หนักหนาตลอด 35 ปีในการขายบีเอ็มดับบลิว มาวันนี้ทายาทผู้สืบสานอาจต้องเด็ดขาด
และเก็บไว้เป็นอดีต โฟล์กสวาเก้น จะเป็นตำนานหน้าใหม่ที่ต้องเริ่มสร้าง ถ้ามัวแต่รอ
ยนตรกิจ กรุ๊ป อาจเหลือเพียงความทรงจำ จับตาการตัดสินใจครั้งสำคัญของยนตรกิจ
กรุ๊ป
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2541)
"โฟล์ก พัสสาท ใหม่ กับคำถามเพียงข้อเดียว"
โฟล์กสวาเกน พัสสาท ราคา "ล้านสี่"!!
ทันทีที่ได้ยิน ในความรู้สึกแรกของคนที่พอจะมีความรู้เรื่องราคารถยนต์ในระดับนี้อยู่บ้าง
ก็คงรู้สึกแปลกใจไม่ต่างกันออกไป
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2540)