กลยุทธ์สร้างภาพพจน์ปั๊มน้ำมันบางจาก เพื่อขายน้ำมัน จนถึงการแก้ข่าว
สถานีบริการน้ำมัน ที่เป็นเครือข่ายจำนวนมากพอ สามารถสร้างกิจกรรมต่างๆ
ที่เกี่ยวกับธุรกิจและอื่นๆ ได้อย่างมาก กรณีของบางจากเป็นตัวอย่างที่น่าสนใจ
จากความพยายามสร้างกิจกรรมเพื่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมไปสู่การสร้างภาพพจน์
และแก้ภาพพจน์ได้ตามสถานการณ์
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2542)
โสภณ สุภาพงษ์ ลาออก
หลังจากพยายามต่อสู้เพื่อให้บริษัทน้ำมันที่ได้ชื่อว่าเป็นของคนไทย 100% มาพักใหญ่
ในที่สุด โสภณ สุภาพงษ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.บางจากฯ ปิโตรเลียม (BPC) ก็ประกาศลาออกจาก
ตำแหน่งเมื่อ 14 มิถุนายน 2542 โดยมีผลอีก 2 เดือนครึ่ง (1 กันยายน 2542)
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2542)
"โสภณ สุภาพงษ์ ผู้อนุรักษ์สีเขียวกับมุมมองวิกฤตเศรษฐกิจไทย"
ในยุคที่เศรษฐกิจอยู่ในช่วงขาลง ประเทศไทยประสบปัญหาอย่างหนักจนแทบเรียกได้ว่ายากจะเยียวยา
การปล่อยค่าเงินบาทลอยตัว และการที่รัฐต้องหันมาปรับภาษีมูลค่าเพิ่มเป็น
10% ย่อมต้องส่งผลต่อต้นทุนการดำรงชีวิตของคนไทยมากขึ้น โดยเฉพาะที่ต้องใช้จ่ายเรื่องรถรา
และการซื้อหาสินค้ามาบริโภค แน่นอนที่ว่าทุกคนต่างจับตามองผู้ให้บริการขายน้ำมันทั้งหลายว่าจะปรับทิศทางของราคาอย่างไรในยุคเศรษฐกิจเช่นนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2540)
โสภณ สุภาพงษ์ กับ"ปรัชญาการบริหารเชิงพุทธ"
หลังจากรับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการบางจากปิโตรเลียมเมื่อปี 2528 เป็นต้นมา
ข่าวคราวของ โสภณ สุภาพงษ์ ก็ดูเกือบจะเงียบหายไปเป็นเวลานาน
จนกระทั่งมีการคัดค้านการสร้างทางด่วนคร่อมคลองประปา ความคิดที่จะใช้สารเพิ่มออกเทนเพื่อลดสารตะกั่วในน้ำมันเบนซิน
โดยใช้มันสำปะหลัง ซึ่งการค้นคว้าวิจัยของเขาถูกหยิบยกมาเป็นหนึ่งในวิธีการที่จะแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
โสภณ สุภาพงษ์ เหมาะมากกับบางจาก
"คน" เป็นทรัพยากรที่มีค่าอย่างยิ่งเพราะจริง ๆ แล้ว การที่งานประสบความสำเร็จ
ไม่ใช่เพราะการมีเทคโนโลยีและอุปกรณ์ที่ทันสมัย หรือมีเงินทุนในการดำเนินกิจการให้เจริญรุดหน้าอย่างใดอย่างหนึ่ง
แต่การดึงเอาพลังจากใจของพนักงานในองค์กรมาใช้ในการทำงานเป็นส่วนที่สำคัญอย่างมาก
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2530)