ชวลิต ธนะชานันท์ ประธานตลาดหุ้นคนใหม่
การเปลี่ยนแปลงบุคลากร ซึ่งเป็นคีย์แมนสำคัญขององค์กรต่างๆ ในวงการตลาดเงินและตลาดทุน
ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง โดย หลังจากวันที่ 31 กรกฎาคมนี้เป็นต้นไป อมเรศ
ศิลาอ่อน จะหมดวาระ จากตำแหน่งประธานคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
และชวลิต ธนะชานันท์ จะเข้ามาดำรงตำแหน่งแทน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2544)
ใคร...? เป็นใคร... ? 10+2+1 ที่ปรึกษาขุนคลัง
การตั้งที่ปรึกษาครั้งนี้ สะท้อนแนวคิดการบริหารกระทรวงการคลังที่แตกต่างไปจากเดิม
โดยให้ความสำคัญกับการประสานความร่วมมือกับกระทรวงเศรษฐกิจทั้งหมด เพื่อประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลของการแก้ปัญหาเศรษฐกิจร่วมกัน อย่างเป็นระบบภายใต้ทิศทางเดียวกัน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2544)
"หมดยุค "มืด" กสท.?"
ชวลิต ธนะชานันท์กันโครงการอื้อฉาว 8 รายการของการสื่อสารแห่งประเทศไทยออกมาศึกษาเป็นพิเศษ
หลังเข้ารับตำแหน่งประธานกรรมการฯ หมาด ๆ ทำให้เขาพบว่า ภายใต้ม่านมืดของ
กสท. นั้นมีจุดบอดในรายละเอียดที่ต้องแก้ไขไม่น้อย ไม่ว่าจะเป็นวิธีพิเศษหรือสเป็กเลือกข้าง
แต่เหนืออื่นใดระบบใหญ่อันไม่โปร่งใสต่างหากที่เป็นปัญหากว่าสิ่งอื่น
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
ภารกิจ 4 ปีของชวลิตในบรรษัท
ในช่วงเวลาสั้น ๆ เพียงไม่กี่เดือนของชวลิต ธนะชานันท์ ขณะที่เป็นผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เขาได้สร้างผลงานที่สำคัญทางด้านนโยบายการเงิน กล่าวคือการผ่อนคลายการควบคุมการปริวรรตจากธุรกรรมทางการค้าระหวางประเทศ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
หลังชวลิต : ใครจะนั่งเก้าอี้ผู้ว่าแบงก์ชาติ?
อังคารที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีปัจจุบัน ได้บันทึกประวัติศาสตร์การเงินไว้อีกหน้าหนึ่ง
เมื่อใช้มือรมต.คลังประมวล สภาวสุ ปลดกำจร สถิรกุลออกจากตำแหน่งผู้ว่าแบงก์ชาติ
พร้อมประกาศแต่งตั้งชวลิต ธนะชานันท์ลูกหม้อที่ทำงานในแบงก์ชาติมานาน 30
ปีและเป็นรองผู้ว่าการมานานกว่า 6 ปีขึ้นเป็นผู้ว่าการแทน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)
ชีวิตง่าย ๆ แต่ทันโลกของชวลิต
ชวลิตใช้เวลาส่วนใหญ่หลังเวลางานหมดไปกับการทุ่มเทการอ่านหนังสือทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นนวนิยายของเฟคเดอริค
ฟอร์ไซร์ในเรื่อง THE NEGOTIATER หรือเรื่องหนัก ๆ ของวิลเลียม กลีเดอร์ใน
THE SECRETS OF THE TEMPLE
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)