เปิดห้องหรูริมถนนวิทยุ "ออลซีซั่นส์แมนชั่น"
จากที่ดินแปลงประวัติศาสตร์ผืนสุดท้ายบนถนนวิทยุ ซึ่งราคาสูงถึง 2,000 กว่าล้านบาท
ที่เอ็มไทยกรุ๊ป ประมูลได้มาเมื่อ 10 ปีก่อน วันนี้กลายเป็น "ออลซีซั่นส์แมนชั่น"
ห้องชุดที่ราคาต่อตารางเมตรแพงที่สุดในปี 2001
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2544)
เอ็มไทยกรุ๊ปลุ้นออลซีซั่นส์เพลสสุดตัว
ในขณะที่โครงการอสังหาริมทรัพย์ใหญ่ๆ หลายโครงการใจกลางกรุงเทพฯ ต้องชะลอการก่อสร้างลง
เพราะมีปัญหาทางด้านการตลาดและปัญหาทางด้านการเงินอย่างหนัก แต่ก็จะมีบางโครงการที่กำลังฟันฝ่าอุปสรรคกัดฟันเดินหน้างานก่อสร้างและงานขายต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2541)
"วันที่รอคอยของเอ็มไทย"
ในที่สุดกลุ่มเอ็มไทยก็ได้ฤกษ์ทำโครงการในที่ดินแปลงประวัติศาสตร์ บนถนนวิทยุใกล้กับสถานฑูตอเมริกาหลังจากรอคอยมาด้วยความอดทนเกือบ4 ปีเต็มท่ามกลางคำถามต่างๆ ที่เกิดขึ้นมากมายว่า ทำไมถึงได้ยอมประมูลที่ดินซึ่งราคาสูงเกือบ
2,000 ล้านบาท แล้วทิ้งไว้โดยไม่ลงมือทำอะไรเลยนานถึงขนาดนั้น ?
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2536)
ทัพเรียลเอสเตทไทยบุกจีน... บทพิสูจน์ CONNECTION
การเข้าไปลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ของนักธุรกิจไทยในเมืองจีนวันนี้ ไม่ใช่เรื่องใหม่แล้ว แต่กลยุทธ์การเข้าไปเพื่อให้ได้มาซึ่งใบอนุญาตของพวกเขาเป็นเรื่องที่ควรศึกษา กลุ่มสมประสงค์ เอ็มไทย ซีพีและกาญจนพาสน์ต่างใช้สายสัมพันธ์ที่มีอยู่อย่างลึกซึ้งยาวนานกับเจ้าหน้าที่รัฐจีน รวมทั้งฐานธุรกิจ ในฮ่องกง เป็นสะพานทอดสู่การลงทุน นี่คือกลยุทธ์ในการลงทุนของทัพเรียลเอสเตทไทยในจีน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
เอ็ม.ไทยกรุ๊ป "เติบโตขึ้นมาในกลุ่มจีนแต้จิ๋ว"
เอ็ม.ไทยกรุ๊ป กลายเป็นกลุ่มธุรกิจที่ผู้คนให้ความสนใจถึงและสืบค้นขึ้นมาทันทีในพริบตา
เมื่อเป็นกลุ่มที่ชนะการประมูลซื้อที่ดินของธนาคารแสตนดาร์ดชาร์เตอร์แบงก์
จำนวน 20 กว่าไร่บนถนนวิทยุ ในราคาที่ทำลายสถิติราคาที่ดินสูงสุดของประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2532)