มอเตอร์ไซค์ "คาจิวา" ขอกลับมาเกิดในไทยอีกครั้ง
การฟื้นตัวของตลาดรถจักรยานยนต์ ในปีที่แล้ว ซึ่งมีการคาดการณ์ถึงยอดขายตลอดทั้งปีว่าจะสูงถึง 800,000 คัน ส่งผลให้ค่ายรถจากยุโรป ได้เริ่มให้ความสนใจจะขอเข้ามาร่วม แย่งตลาดในประเทศไทยด้วย แนวโน้มตัวผู้เล่นในตลาดในปีนี้ จึงมีเพิ่มมากขึ้น จากเดิม ที่มีผู้ครองตลาดหลักอยู่เพียง 4 รายที่เป็นค่ายรถจากญี่ปุ่นล้วนๆ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2544)
"สยามกลการเดินหลงทาง?"
สำหรับบริษัทรถยนต์อย่างสยามกลการพวกเขา มักจะบอกใครต่อใครว่าเป็นบริษัทไทยแท้
100% แต่น่าเสียดาย ที่ในขณะที่ยุคแห่งโลกานุวัตรกำลังแผ่กระจายในโลกของการแข่งขัน
พวกเขากลับมีปัญหาจากการโยกย้ายคนภายในเป็นเพียงน้ำผึ้งหยดเดียว ที่อาจจะทำให้ชื่อของ
"สยามกลการ" ถูกลบจากสาระบบธุรกิจยานยนต์ของไทยในอนาคต !!
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2536)
"สยามกลการทศวรรษที่ 5 ให้จับตา "พรพินิจ"
วันที่ 4 กันยายนนี้ นับเป็นปีที่คนในสยามกลการ ตื่นเต้นเป็นพิเศษ เพราะเป็นการฉลอง
40 ปีสยามกลการ ชื่อบริษัทซึ่ง ม.ล. ยวง อิศรเสนา ตั้งให้กับถาวร พรประภา
ผู้รับมรดกร้าน "ตั้งท่งฮวด" จาก "ไต้ล้ง" ต้นตระกูล
"พรประภา"
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
การต่อสู้ของกลุ่มสยาม เมื่อ"คุณหญิงพรทิพย์"บุกคลัง
"ไม่มีปัญหาอะไร เพียงแต่มาขอข้าวกินเท่านั้น" คุณหญิงพรทิพย์
ณรงค์เดช เอ่ยปากตอบผู้สื่อข่าวที่รุมล้อมในบ่ายวันหนึ่งที่กระทรวงการคลังหลังจากคุฯหญิงพรทิพย์และคณะที่ประกอบด้วยกวี วสุวัตเออร์วิน มูลเลอร์ได้ปรึกษาหารือถึงทุกข์อันเกิดจากภาษีรถยนต์ใหม่กับพนัส
สิมะเสถียรปลัดกระทรวงการคลังเป็นเวลาถึงสองชั่วโมง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)
สองคน ยลตามช่อง'สยามกลการ'
การประกาศตัวภายใต้ชื่อ "กลุ่มสยาม" ดูเหมือนจะมีความหมายมากต่ออนาคตทางธุรกจิของสยามกลการตามแนวคิดที่จะมุ่งสู่การเป็นบริษัทสากล
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2534)
เกษม-พรทิพย์ ณรงค์เดช สูตรผสมเกินพอดี
พรทิพย์ พรประภา ต้องเปลี่ยนมาใช้นามสกุล "ณรงค์เดช" แล้วผันเกษม
ณรงค์เดช ให้กลายเป็นกุญแจดอกสำคัญของ "พรประภา" อย่างแยกไม่ออก
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2531)
คุณหญิงพรทิพย์ เดินสาย
ห้องนภาลัย โรงแรมดุสิตธานีวันนั้น (8 พฤศจิกายน) คับแคบไปถนัดใจ เมือบรรดาตัวแทนจำหน่ายของจักรยานยนต์ยามาฮ่ามาชุมนุมกัน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)