Jim Thompson's Back!!
ครั้งแรกที่เห็นกำหนดการที่จั่วหัวว่า "Jim Thompson กลับมาแล้ว" โดยมีนาวิน ลาวัลย์ชัยกุล เป็นผู้นำมาส่งที่บ้านไทย จิม ทอมป์สัน ในซอยเกษมสันต์ 2 ความรู้สึกที่เกิดขึ้นมีทั้งตื่นเต้นดีใจระคนปนกับความไม่แน่ใจ พร้อมคำถามคาใจว่า "จิม ทอมป์สัน หายไปทำอะไรที่ไหนมาเกือบ 40 ปี?"
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2550)
จิม ทอมป์สัน Farmers Market and Café
แวะทานน้ำชายามบ่ายในบ้านเก่าหลังใหญ่ที่ร่มรื่นไปด้วยพรรณไม้ กลางซอยศาลาแดง 1 ที่นี่มีชาใบหม่อนที่มาจากฟาร์มปลูกหม่อนเลี้ยงไหม จากอำเภอปักธงชัย Farmers Market and Cafe เป็นร้านอาหารของบริษัทอุตสาหกรรมไหมไทย เจ้าของ
ผ้าไหมไทย จิม ทอมป์สัน ที่เปิดตัวมาประมาณ 3 ปีแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2547)
รำลึกอดีต กับอังคณา กะลันตานนท์
ทุกวันนี้ อังคณายังมาทำงานทุกวัน ในตำแหน่งที่ปรึกษาฝ่ายอาคันตุกะสัมพันธ์
และเป็น "ป้าอัง" หรือ "คุณย่าอัง" ของพนักงานทุกคนในโรงแรมโอเรียนเต็ล
มีหน้าที่ สำคัญคือ คอยต้อนรับแขก โดยเฉพาะเมื่อมีแขกเก่าแก่ของโรงแรมบางคนที่แวะเวียนมาพักเกือบทุกปี
จนมีความสนิทสนมผูกพันกันนานเป็นพิเศษ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2544)
รำลึกถึง จิม ทอมป์สัน ณ เรือนไทยหลังใหม่
ยามบ่ายที่เรือนไทย ท่ามกลางแมกไม้นานาพันธุ์ ริมคลองแสนแสบหลังนี้ ยังคงคึกคักไปด้วยชาวต่างประเทศที่เข้ามาเยี่ยมชมไม่ขาดสายอยู่เช่นเคย
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2543)
จิม ทอมป์สัน ยุคใหม่ ยุคธุรกิจ "ครบวงจร"
เส้นทางเดินบนถนนสายไหมของผ้าไทย จิม ทอมป์สัน นั้นเริ่มจากศิลปหัตถกรรมในชุมชนแห่งหนึ่งของเมืองไทยที่ค่อยๆ
พัฒนาอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นอุตสาหกรรมไหมอย่างครบวงจร ที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก การสะสมประสบการณ์ของ
งานด้านออกแบบ การผลิตที่มีคุณภาพ และการจัดการทางด้านการตลาดอย่างเป็นระบบนานเกือบ 50 ปีคือบทเรียน
การทำธุรกิจที่มีค่ายิ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2542)
จิม ทอมป์สันไหมไทยบนจุดเปลี่ยนโค้ง
จิม ทอมป์สัน ได้สมญาว่า KING OF THAI SILK ชื่อของเขากลายเป็นเครื่องหมายการค้าที่มีค่า
GOODWILL สูง ภายหลังหายตัวลึกลับไปในป่ามาเลเซียเมื่อ 20 ปีก่อน เรื่องราวชีวิตของเขาอย่างละเอียดได้จากหนังสือของ
WILLIAM WARREN
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2530)