"ซอมเมอร์ส ยูเค" กองทุนวิกฤติ
ก่อนหน้านี้ไม่มีใครรู้ว่า Sommers UK เป็นใครมาจากไหน มีเพียงการร่ำลือว่าเป็นบริษัทที่บุญชัยและภูษณตั้งขึ้นมา เพื่อเข้ามาซื้อหุ้นในยูคอม เพื่อต้องการรักษาสัดส่วนหุ้นไว้ นอกจากนี้ก็จะรู้แต่เพียงว่าเป็นกองทุนการเงินจดทะเบียนในประเทศอังกฤษที่เข้ามาแปลงหนี้ของยูคอมเป็นทุน และกลายเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ที่ถือครองหุ้นไว้ 36% มากกว่าตระกูลเบญจรงคกุล ที่ต้องกลายเป็นผู้ถือห้นอันดับ 2
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
Thai Art Museum ในยูคอม
ความสุขของ บุญชัย เบญจรงคกุล ไม่ใช่แค่เป็นเพียงเจ้าของผลงานภาพเขียนชั้นยอด แต่เขายังเป็นเจ้าของศิลปกรรมชิ้นเอกทุกแขนงของศิลปินชั้นครูของไทย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2548)
Business Role Model
ธนินท์ เจียรวนนท์ เป็นสัญลักษณ์ของกลุ่มเจริญโภคภัณฑ์ หรือซี.พี. ซึ่งได้เคลื่อนย้ายโมเดลธุรกิจ
สร้างธุรกิจครบวงจรให้ความสำคัญในการผลิต โดยเฉพาะธุรกิจอาหาร ที่ขยายภูมิศาสตร์ต่างๆ
อย่างกว้างขวางที่สุด มาสู่การสร้างเครือข่ายการตลาดในสินค้าและบริการที่เข้าถึงผู้บริโภคมากที่สุด
โดยเฉพาะมาโฟกัสในสังคมไทยอย่างมากในช่วง 5-6 ปีมานี้ กลายเป็นธุรกิจเครือข่ายการตลาดที่ใหญ่ที่สุดในสังคมไทยก็ว่าได้
(อาหาร ค้าปลีก ให้บริการด้านสื่อสาร)
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
6 ปีที่ผ่านไป
ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ และสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง เป็นสองลูกหนี้ที่ดำรงบทบาทอย่างมีสีสันมาก
ตลอดระยะเวลานับตั้งแต่ประเทศไทยต้องประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์
ที่เริ่มตั้งแต่วันที่ 2 กรกฎาคม 2540 เป็นต้นมา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
Happy birthday
ดูเหมือนจะเป็นครั้งแรกที่บุญชัย เบญจรงคกุล ปรากฏตัวในงานแถลงข่าวความร่วมมือระหว่าง
DTAC และ GMM Grammy วันที่ 28 พฤษภาคมที่ผ่านมา ห้องบอลรูมโรงแรมรีเจ้นท์ นับตั้งแต่สลับเก้าอี้ให้วิชัย เบญจรงคกุล มาบริหารงานใน DTAC เป็น Co-CEO
คู่กับ ซิกเว่ เบกเก้ ที่ส่งมาจากเทเลนอร์
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
สำนึกรักบ้านเกิด ในแบบ DTAC
งานแถลงข่าว Tour Concert "ทศวรรษคนพูดเพลง สำนึกรักบ้านเกิด"
เมื่อเดือนตุลาคมที่ผ่านมา นอกจากจะดำเนินไปภายใต้แนวคิดที่ผสานกับเครือข่ายชุมชนในแต่ละภูมิภาคแล้ว
ยังได้สะท้อนทัศนะของ บุญชัย เบญจรงคกุล ไว้อย่างชัดเจนด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2544)
บุญชัย เบญจรงคกุล ความหมายของ "พี่ใหญ่"
ถึงแม้ว่า เขาจะมีบุคลิกนิ่มนวล แต่ชีวิตที่ผ่านมาของเขา กลับต้องเผชิญความยากลำบากทางความคิดมาแล้วหลายครั้ง
ความหมายของคำว่า "พี่ใหญ่" จึงหมายถึงผู้ที่ต้องรับผิดชอบกับปัญหาหนี้สิน
และสิ่งที่ยากที่สุด ก็คือ การสืบทอดกิจการต่อจากมือ อาชีพที่ต้องแก้ปัญหาหนี้สิน
และคู่แข่งที่มี ความแข็งแรงที่สุด 2 ราย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2544)
พี่ใหญ่ของบ้าน
บุญชัย รับสืบทอดกิจการของครอบครัวในฐานะของลูกชายคนโต ทำให้เขา
ทำหน้าที่และรักษาบทบาทนี้อย่างเข้มข้น และบทบาทนี้ไม่ได้เกิดขึ้นในวันเดียว
แต่พื้นฐานความเป็นผู้นำครอบครัว ที่หล่อหลอมให้เขามีวันนี้
บทบาทความเป็น "พี่ใหญ่" ของบุญชัย ที่สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของตระกูลเบญจรงคกุล
ที่มีกฎระเบียบ กติกา ของการอยู่ร่วมกันเป็นครอบครัวใหญ่ สามารถสะท้อนได้จากรูปแบบครอบครัว
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2544)