แบรนด์ใหม่ของ สวัสดิ์ หอรุ่งเรือง
กลางเดือนที่แล้ว บริษัทเหมราชพัฒนาที่ดิน (HEMRAJ) ได้จัดงานแถลงข่าวขึ้นที่โรงแรม Four Seasons โดยมีเป้าหมายสำคัญ 2 เรื่อง เรื่องแรกเพื่อแจ้งให้สื่อมวลชนทราบถึงรายได้รวมในช่วง 6 เดือนแรกของบริษัทเป็นเงิน 1,186 ล้านบาท เพิ่มขึ้นถึง 25%
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2547)
Business Role Model
ธนินท์ เจียรวนนท์ เป็นสัญลักษณ์ของกลุ่มเจริญโภคภัณฑ์ หรือซี.พี. ซึ่งได้เคลื่อนย้ายโมเดลธุรกิจ
สร้างธุรกิจครบวงจรให้ความสำคัญในการผลิต โดยเฉพาะธุรกิจอาหาร ที่ขยายภูมิศาสตร์ต่างๆ
อย่างกว้างขวางที่สุด มาสู่การสร้างเครือข่ายการตลาดในสินค้าและบริการที่เข้าถึงผู้บริโภคมากที่สุด
โดยเฉพาะมาโฟกัสในสังคมไทยอย่างมากในช่วง 5-6 ปีมานี้ กลายเป็นธุรกิจเครือข่ายการตลาดที่ใหญ่ที่สุดในสังคมไทยก็ว่าได้
(อาหาร ค้าปลีก ให้บริการด้านสื่อสาร)
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
6 ปีที่ผ่านไป
ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ และสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง เป็นสองลูกหนี้ที่ดำรงบทบาทอย่างมีสีสันมาก
ตลอดระยะเวลานับตั้งแต่ประเทศไทยต้องประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์
ที่เริ่มตั้งแต่วันที่ 2 กรกฎาคม 2540 เป็นต้นมา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
I shall Return
สวัสดิ์ หอรุ่งเรือง เชื่อมั่นเสมอว่า ชีวิต และการทำงาน ก็เหมือนกับพระอาทิตย์
คือมีทั้งขึ้นและตก แต่หลังจากพระอาทิตย์ของเขาตกลงครั้งล่าสุด เขาต้องใช้เวลารอนานเกือบ
6 ปี กว่าที่แสงสีทองจะปรากฏขึ้นมาบนขอบฟ้า ให้เขาได้มองเห็นอีกครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2546)
The beautiful life
สำหรับคนวัย 60 เศษ ที่ได้เคยผ่านชีวิตวัยรุ่นหนุ่มสาวในกรุงเทพฯ เมื่อกว่า
40 ปีก่อน ซึ่งเป็นช่วงของทศวรรษ 1960 น้อยคน นักที่จะลืมบรรยากาศในช่วงเวลาดังกล่าวไปได้
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2546)
Drive & Challenge
คนที่รู้จักสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง ย่อมรู้ดีว่างานอดิเรกอย่างหนึ่งที่เขาทำมาเป็นเวลากว่า
30 ปี และยังคงทำต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน ไม่ว่าธุรกิจของเขาจะอยู่ในช่วงรุ่งเรือง
หรือต้องเผชิญกับวิกฤติก็คือการตระเวนหาซื้อรถเก่านำมาซ่อมใหม่ เพื่อเก็บสะสมไว้
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2546)
"อะไรที่ไม่ classy ผมไม่ใส่"
บุคลิกของสวัสดิ์อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งมักจะทำให้คนเข้าใจเขาผิด คือเขาเป็นคนที่พิถีพิถันอย่างยิ่งกับเรื่องของการแต่งกาย "พ่อแม่ผมสอนผมมาตั้งแต่ยังเด็กแล้วว่าก่อนออกจากบ้านต้องแต่งตัวดี" เขายอมรับว่าเขาเป็นคนที่ติดจะหัวสูงอยู่เล็กน้อย ดังนั้นเสื้อผ้าที่เขาใช้ จึงเป็นเสื้อผ้าจากต่างประเทศ และมีราคาแพง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2546)
สวัสดิ์ หอรุ่งเรือง Dead man walking
เจ้าของวาทะบ้าบิ่น ประชดประชัน ที่เรียกตัวเองในวันนี้ว่า "ซากศพเดินได้"
หรือ Dead man Walking เป็นใครไปไม่ได้นอกจากนายสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง อดีตเจ้าพ่อวงการเหล็ก
ที่วันนี้กอบกู้ชีวิตธุรกิจ กลับคืนมาได้เกือบหมดแล้ว และประกาศ การกลับมาอย่างทรนงว่าในบรรดาธุรกิจที่เขาก่อหนี้สินยืมเงินคนอื่นมาสร้างนั้น
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2546)
บทเรียนราคาแพงของเอ็นเอสเอ็ม
ในช่วงปลายปี 1997 ต่อกับปี 1998 ภาวะเศรษฐกิจของเอเชีย กำลังตกต่ำถึงขีดสุด และเป็นเวลาเดียวกับที่เอ็นเอสเอ็มกำลังขาดเงินทุน ดำเนินการสำหรับโรงงานแห่งใหม่พอดี ขณะเดียวกัน จอร์จ โซรอส นักเก็งกำไรระดับโลกก็ได้เล็งหาเหยื่อรายใหม่ และเขาก็เลือกเอ็นเอสเอ็มเมื่อสบโอกาส
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
สวัสดิ์ หอรุ่งเรือง ถอยหนึ่งก้าว เพื่อซื้ออนาคต!?
คำประกาศข้างต้นอาจจะไม่ฮือฮาเท่ากับคำที่เคยประกาศว่า "ไม่มี ไม่หนี ไม่จ่าย"
แต่คำประกาศนี้น่าจะเป็นการสรุปบทเรียนการกู้ซากธุรกิจของสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง
ที่จวนเจียนจะยุติลงได้ในอีกไม่กี่วันข้างหน้านี้ หลังจากที่เขาได้บทเรียนมาหลายเรื่องในการเจรจาปรับโครงสร้างหนี้ของเขา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2542)