สุรเกียรติ์ เสถียรไทย กับแผนแปรรูปปตท. ภารกิจในวงการพลังงาน "ผมทำเสร็จแล้ว"
สุรเกียรติ์ ไม่ใช่บุคคลที่คลุกคลีอยู่กับวงการพลังงานมาอย่างต่อเนื่อง พื้นเพในอดีตของเขาเป็นนักกฎหมายเศรษฐกิจ อาจารย์มหาวิทยาลัย เคยเข้าสู่วงการเมือง เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในยุครัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา แต่กลับมีบทบาทในอุตสาหกรรมนี้ค่อนข้างมาก ในช่วงเวลา 2 ปี ที่ ผ่านมา ซึ่งเป็นช่วงที่องค์กรธุรกิจหลายแห่งประสบปัญหาทางการเงิน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2543)
บรรหาร ศิลปอาชาอดีตนายกฯ ที่ใช้มือการเงินเปลืองที่สุด
บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 21 รับหน้าที่บริหารประเทศตั้งแต่วันที่ 2 ก.ค. 2538 เวลาผ่านพ้นมาเป็นเพียงเวลาปีเศษเท่านั้น แต่เป็นที่น่าสังเกตว่าตั้งแต่บรรหารเข้ามาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้น เขาได้ใช้มือดีทางการเงินมาแล้วถึง 4 คน ในระยะเวลาอันสั้นหลังจากที่ได้รับตำแหน่ง ที่คนเหล่านั้น ได้ถูกปลด บีบบังคับ และเก็บกดจนต้องลาออกไปเองและบทสรุปที่ทุกคนได้รับนั้นล้วนไม่สวยงาม
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2539)
สุรเกียรติ์ เสถียรไทย
การขึ้นมารับตำแหน่ง "รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง" ของธารินทร์
นิมมานเหมินท์กับสุรเกียรติ์ เสถียรไทยนั้นมีความเหมือนกันคือ เป็น "คนนอก"
แต่ที่ต่างกันมากๆ คือ ธารินทร์เป็นคนนอกที่มีประสบการณ์ในแวดวงสถาบันการเงินมาก่อนและมีบารมี
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2539)
หกที่ปรึกษานายกฯ "พวกผมไม่ต้องการอำนาจ"
คนไทย…รอคอยผู้บริหารประเทศที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน เพื่อประชาชนมานานนับสิบปี
คณะรัฐบาลในวันนี้ มีเรื่องที่ต้องแก้ไขอยู่ทุกวี่ทุกวัน วันละนับสิบนับร้อยเรื่อง
จำเป็นอยู่เองที่จะต้องมี "ที่ปรึกษา"
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2531)