บ้านใหม่ตาดู บ้านใหม่ศิลปิน
พลันที่หอศิลป์ตาดู ย่านอาร์ซีเอปิดตัวลงในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2546 โดยปล่อยให้บ้านเก่ากลายเป็นแหล่งบันเทิงแห่งใหม่ของกรุงเทพมหานคร ได้สร้างคำถามให้สังคมไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2547)
วิทิต ลีนุตพงษ์ ดิ้นรนเพื่ออยู่รอดของยนตรกิจ
วิทิต ลีนุตพงษ์ เป็นลูกคนที่ 9 ของอรรถพร ลีนุตพงษ์ เจ้าของตำนาน ผู้สร้างยนตรกิจ
ซึ่งเพิ่งเสียชีวิตลงเนื่องจากหัวใจล้มเหลว เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2544)
ยนตรกิจขายโรลสรอยซ์-เบนท์ลี่ เกมนี้ต้องมองยาวๆ
โฟล์คสวาเกน แต่งตั้งยนตรกิจเป็นตัวแทนจำหน่าย รถยนตร์โรลสรอยซ์ และเบนท์ลี่อย่างเป็นทางการในประเทศไทย ขณะที่ยนตรกิจวาดหวังไกล จะเป็นศูนย์ซ่อมรถยนตร์หรูสองยี่ห้อนี้ ทั้งในระดับประเทศและภูมิภาค
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
วิทิต ลีนุตพงษ์ อนาคตของยนตรกิจ ฝากไว้กับโฟล์ค
ยนตรกิจในทุกวันนี้ สามารถเอ่ยปากกับทุกคนได้ว่า เป็นค่ายรถยนต์ คนไทยได้อย่างเต็มภาคภูมิ เพราะการตัดสินใจของวิทิต ลีนุตพงษ์ ที่ไม่ยอมเฉือนหุ้นให้บีเอ็มดับเบิลยู แล้วเปลี่ยนขั้วมาขายรถโฟล์คสวาเกน
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
ยนตรกิจกรุ๊ป จับโฟล์คขึ้นแท่นเป็นสินค้าหลัก
ความร่วมมือระหว่างยนตรกิจ กับโฟล์คสวาเก้น ด้วยการร่วมทุนจัดตั้งบริษัทถึง 2 แห่งคือ บริษัทโฟล์คสวาเก้นลิสซิ่ง และบริษัทยนตรกิจ โฟล์คสวาเกน มาร์เก็ตติ้ง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2543)
วิทิต ลีนุตพงษ์ เปิดใจ
หลังจากมีการเซ็นสัญญา CKD เพื่อผลิตชิ้นส่วนและประกอบรถยนต์ค่ายโฟล์กสวาเก้น
รุ่นพัสสาทใหม่ และ เอาดี้ A6 ระหว่างยนตรกิจกับโฟล์กสวาเก้นเมื่อกลางปีที่ผ่านมา
ประเด็นที่ได้รับ ความสนใจมากที่สุดคือ "บริษัทแม่จะเข้ามาลงทุนเองอีกหรือไม่ในอนาคต"
หรือ "จะมีเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ซ้ำรอยดังกรณีของบีเอ็มดับเบิลยูหรือไม่"
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2542)
'ยนตรกิจ' เลิกขาย 'บีเอ็ม' ตัวแปรสำคัญคือโฟล์กกรุ๊ป
ความตกต่ำของตลาดรถยนต์เมืองไทยในช่วงกว่า 1 ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะตลาดรถยนต์นั่งระดับหรูหรานั้น
ได้สร้างปัญหาให้กับผู้ค้าในตลาดนี้อย่างมากในทุกยี่ห้อ
และดูเหมือนว่า "ยนตรกิจ" กับความเหลวแหลกของบีเอ็มดับบลิวในไทย
ได้กลายเป็นปัญหาที่ดูหนักหนาที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2540)