อภิรักษ์ โกษะโยธิน จาก Co-CEO สู่ผู้ว่าฯ กทม.
นับเป็นงานแถลงข่าวลาออกของผู้บริหารระดับ CEO ที่บรรยากาศเต็มไปด้วยความชื่นมื่นของทั้งฝ่ายมืออาชีพและเจ้าของบริษัท ผิดไปจากข่าวการลาออกของ CEO ทั่วๆ ไป หลังจากตกเป็นประเด็นร้อน เกี่ยวกับการลุกจากเก้าอี้ CEO ทีเอ ออเร้นจ์ เพื่อลงสู่สนามการเมือง ลงเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อภิรักษ์ โกษะโยธิน ก็ตัดสินใจควงคู่ศุภชัย เจียรวนนท์ CEO จัดแถลงข่าวในช่วงบ่ายวันที่ 13 มกราคม
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2547)
อภิรักษ์ โกษะโยธิน
"ผมมองว่า เรื่องการลาออกจากตำแหน่ง CEO บริษัทแกรมมี่ของอภิรักษ์ โกษะโยธิน ไปสู่ทีเอ ออเร้นจ์ นั้นเป็นเรื่องโอกาสของมืออาชีพคนหนึ่ง มากกว่าที่จะเป็นเรื่องความขัดแย้ง ประสบการณ์และโอกาสของเขาสอดคล้องกับยุคสมัย มันต้องควบคู่ไปกับความเก่ง ความเก่งเป็นนิยามจากความรู้สึกมากกว่าความเข้าใจ หากถามผม ผมคิดว่าอภิรักษ์มีความสัมพันธ์กับความเป็นไปของเขา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2547)
ศุภชัย เจียรวนนท์ Change Management
ศุภชัยเป็นคนหนุ่มที่ได้ชื่อว่าได้รับโอกาสมากที่สุดคนหนึ่งของสัมคมไทย
ที่ได้รับผิดชอบธุรกิจสื่อสารมูลค่านับแสนล้านบาท มากกว่าทรัพย์สินของกลุ่ม
ซี.พี. แต่ในปีนี้จะเป็นปีที่เขาจะต้องเผชิญกับความท้าทายและบีบคั้น กับการนำพาธุรกิจขับเคลื่อนไปสู่โมเดลใหม่
Solution Provider
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2547)
ลำดับเหตุการณ์
ลำดับเหตุการณ์และความเคลื่อนไหวต่างๆ ของ เทเลคอมเอเชีย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2547)
1 ปี กับศุภชัย เจียรวนนท์
ตลอดการสัมภาษณ์พิเศษ 2 ครั้ง ระหว่าง "ผู้จัดการ" กับศุภชัย เจียรวนนท์ จากการติดตามอย่างต่อเนื่อง สะท้อนถึงกระบวนการทางความคิดและแรงผลักดันของการขับเคลื่อนองค์กร
ไปสู่มิติเป้าหมายใหม่ของธุรกิจที่ไม่ใช่แค่การขายคู่สายโทรศัพท์อีกต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2547)
Deliver Brand
สำหรับทีเอ ออเร้นจ์แล้ว กระบวนการสร้าง brand ที่ทำให้โทรศัพท์มือถือเป็น
lifestyle และมีบุคลิกเฉพาะตัว ยังคงเป็นอาวุธทรงประสิทธิภาพที่พวกเขายังคงต้องทำต่อเนื่อง การเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณา "Sharing" จัดได้ว่าเป็นภาคที่ 2 ของกระบวนการสร้าง
Brand ขึ้นภายใต้ปรัชญาทั้ง 5 ข้อ ตรงไปตรงมาไม่หยุดนิ่ง ทำสิ่งแปลกใหม่
ซื่อสัตย์ และเป็นมิตรเสมอ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2546)
Business Role Model
ธนินท์ เจียรวนนท์ เป็นสัญลักษณ์ของกลุ่มเจริญโภคภัณฑ์ หรือซี.พี. ซึ่งได้เคลื่อนย้ายโมเดลธุรกิจ
สร้างธุรกิจครบวงจรให้ความสำคัญในการผลิต โดยเฉพาะธุรกิจอาหาร ที่ขยายภูมิศาสตร์ต่างๆ
อย่างกว้างขวางที่สุด มาสู่การสร้างเครือข่ายการตลาดในสินค้าและบริการที่เข้าถึงผู้บริโภคมากที่สุด
โดยเฉพาะมาโฟกัสในสังคมไทยอย่างมากในช่วง 5-6 ปีมานี้ กลายเป็นธุรกิจเครือข่ายการตลาดที่ใหญ่ที่สุดในสังคมไทยก็ว่าได้
(อาหาร ค้าปลีก ให้บริการด้านสื่อสาร)
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
อภิรักษ์ โกษะโยธิน โอกาสของมืออาชีพ
เขาเป็นมืออาชีพ เติบโตมาจากครอบครัวคนชั้นกลางที่ถือเป็นรากฐานดั้งเดิมของสังคมไทย
ผ่านระบบการศึกษาในประเทศ ที่สามารถใช้จุดแข็งที่มี ปรับเข้ากับสถานการณ์เปลี่ยนแปลง
เข้าไปมีส่วนร่วมบุกเบิก หรือสร้างสิ่งใหม่ๆ ให้กับธุรกิจที่กำลังเติบโตและเป็นแนวโน้มของไทย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
แก่นความคิด
จะด้วยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม ความต่อเนื่องของประสบการณ์ของการทำงานในการบุกเบิกในบริษัทข้ามชาติ
เป็นสิ่งที่คนรุ่นใหม่ในยุคนั้นน้อยคนจะมี โดยเฉพาะบริษัทข้ามชาติเป็นที่ยอมรับของสังคมไทย
ยิ่งทำให้อภิรักษ์ โกษะโยธิน สร้างชื่อในฐานะมืออาชีพขึ้นมาเป็นลำดับ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
อภิรักษ์ โกษะโยธิน เรื่องของมืออาชีพ
การโบกมืออำลาเก้าอี้ CEO ในจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ของอภิรักษ์ โกษะโยธิน ดูจะไม่ใช่เรื่องเหนือความคาดหมายนัก หลายคนเชื่อว่าเกิดจากความขัดแย้งทางความคิดในการบริหารงานระหว่างไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม และอภิรักษ์ โกษะโยธิน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2545)