วสันต์ จาติกวณิช ถอยเพื่อตั้งหลัก
ดูเหมือนว่าจะเป็นครั้งแรกๆ ในรอบหลายปีมานี้ที่วสันต์ จาติกวณิช เปลี่ยนมาสวมสูทผูกไทออกงาน
หลังจากที่เคยสลัดเชิ้ตสวมใส่กางเกงยีนส์ เสื้อยืดโปโล ปะโลโกล็อกซอินโฟ
ตามสไตล์ของนักธุรกิจดอทคอมอยู่พักใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2545)
วสันต์ จาติกวณิช ภารกิจสร้างโลกดอทคอม
สิ่งที่วสันต์ทำอยู่ในเวลานี้ ขัดแย้งกับธุรกิจที่ล็อกซเล่ย์ เคยทำมาตลอดสามสิบปีที่ผ่านมา
เขากำลังนำพาองค์กรที่ได้ชื่อว่า เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของไทย ไปสู่โลกใบใหม่ของธุรกิจ
ที่มีเส้นทางแตกต่างจากเดิมอย่างสิ้นเชิง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
อาทิตย์ละครั้งกับพอยต์เอเซีย
นับตั้งแต่การเปิดตัวพอยต์เอเชียดอทคอม ที่มีขึ้นตั้งแต่วันที่ 20 เมษายนเป็นต้นมา
นับว่าเป็นการเปิดฉากหน้าใหม่ของธุรกิจ ในอีกด้านหนึ่งอย่างจริงจัง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2543)
รอยต่อของล็อกซอินโฟ
ล็อกซอินโฟ ไอเอสพีรายแรกที่มาจากองค์กรที่มีวัฒนธรรมเก่าแก่ที่สุด กำลังเรียนรู้การใช้ประโยชน์โลกอีกด้านของธุรกิจอินเตอร์เน็ตที่จะมาจาก "ใบหุ้น"
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2543)
วัฒนธรรมอินเตอร์เน็ตตามแบบฉบับล็อกซอินโฟ
วสันต์ จาติกวณิช ผู้บริหารล็อกซอินโฟเล่าให้ฟังถึง การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรให้สอดคล้องกับความเป็นองค์กรอินเตอร์เน็ตซึ่งได้ดำเนินการมา 2 ปีแล้วว่า เป็นสิ่งที่เขาคิดไม่ผิด
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2543)
โลกส่วนตัวของวสันต์ จาติกวณิช
"ผมชอบคอมพิวเตอร์" ใครจะคิดว่าประโยคสั้นๆ ของวสันต์
จาติกวณิช กรรมการบริหาร บริษัทล็อกซเล่ย์ จำกัด (มหาชน) จะมีความ หมายมากมายกว่าคำว่าชอบ
ทุกๆ เช้า วสันต์จะตื่นนอนตั้งแต่ตี 4 เริ่มกิจกรรมแรกยามเช้าส่งโจ๊กขำขัน
(Dirty joke) ผ่านอีเมลไปให้กลุ่มสมาชิกที่มีอยู่มากกว่า 500 คน ตามประสาของคนครื้นเครงที่ไม่ชอบอยู่นิ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2542)
วสันต์ จาติกวณิช ล็อกซเล่ย์วันนี้ขอเป็นแค่หมูตัวเล็กๆ
แม้จะโดนภาวะเศรษฐกิจขาลงพ่นพิษเข้าให้ แต่ด้วยความที่ยึดนโยบายอนุรักษนิยมมาโดยตลอด
หรือจะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าขยายธุรกิจอย่างเชื่องช้าแบบระมัดระวัง ไม่ลงทุนแบบตูมตามเหมือนคนอื่น
ล็อกซเล่ย์จึงยังไม่ออกอาการให้เห็นแบบหนักๆ เหมือนกับกลุ่มธุรกิจตระกูลอื่นๆ
ที่ลงทุนแบบไม่ลืมหูลืมตา
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2541)
วสันต์ จาติกวนิช ถึงอย่งไรก็ไม่พ้นธุรกิจพลังงาน
ในช่วง 10 ปีมานี้ ล็อกซเล่ย์เทรดดิ้งเฟิร์มเก่าแก่ของไทย ได้พลิกบทบาททางธุรกิจออกไปอย่างมากมาย
การเป็นเพียง "นายหน้า" ค้าขายสินค้าที่มีตั้งแต่ไม้ขีดไฟยันเรือรบ
เช่นในอดีตเมื่อ 56 ปีที่แล้วไม่สามารถทำได้อีกต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
"จานดาวเทียม กำไรดี และเติบโตแบบสุดสุด"
ทศวรรษก่อนนักธุรกิจมักมีความต้องการบริโภคข้อมูลข่าวสารที่รวดเร็วและรอบด้าน จานรับสัญญาณดาวเทียมจึงขายได้แต่เฉพาะกลุ่มเป้าหมายนี้ ในทศวรรษนี้ความต้องการบริโภคข่าวสารของผู้คนเริ่มเปลี่ยนแปลง นับจากเกิดเหตุการณ์นองเลือดเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตย การแปรเปลี่ยนพฤติกรรมเช่นนี้ได้กลายเป็นสิ่งกระตุ้นให้อนาคตของตลาดจานรับสัญญาณดาวเทียมเติบโตเกิน 100% เพียงแค่ช่วงเวลาไม่กี่วัน แต่ใครจะชนะในธุรกิจนี้อยู่ที่คุณภาพของชิ้นส่วนรับสัญญาณและราคา"
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2535)