Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Profile Photo

industry
company
people
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ9  
ผู้จัดการรายวัน16  
Total 25  

Listed Company
Manager Lists
 
People > ชาติศิริ โสภณพนิช


นิตยสารผู้จัดการ (1 - 9 of 9 items)
The New Arm บัวหลวง ธุรกิจหลักทรัพย์ในเมืองไทยเป็นความหวังของคนไทยรุ่นต่างๆ เสมอ อย่างน้อย 3 รุ่นมาแล้ว ใน 3 ทศวรรษที่ผ่านมาตั้งแต่ในยุคก่อตั้งในราวปี 2520 รุ่นที่ 2 เปิดฉากอย่างคึกคัก ในราวปี 2530 และรุ่นล่าสุด ได้ก่อตัวขึ้นอย่างเงียบๆ หลังวิกฤติการณ์ปี 2540 ภายใต้สถานการณ์แวดล้อม ธุรกิจพลิกโฉมหน้าไปมาก โดยมี 'ฝรั่ง' เข้ามาครอบงำมากกว่ายุคใดๆ(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2545)
ชาติศิริ โสภณพณิช ได้วิกฤติเป็นบทเรียน การที่ธนาคารกรุงเทพ สามารถประคองตัวอยู่ได้ ท่ามกลางความผันแปรทาง เศรษฐกิจในช่วง 4 ปีเศษที่ผ่านมา น่าจะเป็น บทพิสูจน์ความสามารถของชาติศิริ โสภณพนิช ได้ระดับหนึ่งแล้วว่า การก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ของเขา เมื่อ 7 ปีก่อน ไม่ได้มีเหตุผลจากความเป็นลูกชาย คนโตของชาตรี โสภณพนิช เพียงอย่างเดียว(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2544)
ชาติศิริ โสภณพนิช รุ่นที่ 3 ธนาคารกรุงเทพ ชาติศิริ โสภณพนิช คือ ผู้มีสิทธิมา ตั้งแต่เกิดสำหรับการเป็นผู้นำในธนาคารที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ต่อจากบิดาของ เขา ชาตรี โสภณพนิช แต่ชาติศิริจะต้องทำงานหนัก เขามีบุคลิกภาพที่อ่อนโยน และ เขาก็ปรารถนาที่จะได้รับการนับถือจากพนักงาน และลูกค้าของธนาคารกรุงเทพ(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
ชาติศิริ โสภณพนิชรอยต่อรุ่นที่ 3 ของธนาคารกรุงเทพแค่รักษาความเป็นหนึ่งก็ยุ่งน่าดู 10 กว่าปีก่อน ชาตรี โสภณพนิช ได้ทำให้เจ้าสัวชิน ประมุขแห่งตระกูลสามารถวางมือจากธุรกิจอย่างวางใจในอภิชาตบุตรคนนี้ ด้วยตัวเลขความเติบโตอย่างรุดหน้าที่ทำให้แบงก์บัวหลวงยังคงครองความเป็นที่ 1 มาตลอด แต่มาถึงวันนี้ ทายาทรุ่นที่ 3 ของบัวหลวงที่ชื่อว่า ชาติศิริ จะสามารถทำได้อย่างเดียวกันหรือไม่(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2539)
เสริมเขี้ยวเล็บด้วยความรู้ โทนี่ หรือ ชาติศิริ โสภณพนิช ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2537 ซึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่คนที่ 6 สืบแทนจาก ดร.วิชิต สุรพงษ์ชัย ที่ลาออกเพราะมีปัญหาเรื่องสุขภาพ เขาเข้ามาทำงานครั้งแรกในแบงก์กรุงเทพตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2529 สังกัดฝ่ายพนักงาน เมื่ออายุ 27 ปี(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2539)
"โทนี่และปั้น" "โทนี่" ในที่นี้คือชาติศิริโสภณพนิชและ "ปั้น" ก็คือบัณฑูร ล่ำซำ กรรมการผู้จัดการใหญ่ของแบงก์กรุงเทพและแบงก์กสิกรไทยตามลำดับ ทั้งสองคนนั้นอาจจะถูกมองอย่างริษยาว่าต่างก็เกิดมาบนกองเงินกองทอง เพราะทั้งสองนามสกุลนั้นหลายคนแปลว่า "เงิน" หรือ "รวย"(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2538)
แบงก์กรุงเทพหลังกึ่งศตวรรษ ต้องทำมากกว่าที่ผ่านมา ชาติศิริ โสภณพนิช กรรมการผู้จัดการใหญ่ คนใหม่ ของธนาคารกรุงเทพ โสภณพนิช รุ่นที่ 3 ซึ่งเข้ามารั้งตำแหน่งหมายเลข 1 ของธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ตั้งแต่เดือนนี้ ประกาศที่จะดำเนินนโยบายสู่การเป็นธนาคารแห่งภูมิภาคเอเชียในปี 2540 ทำให้คนในวงการมีคำถามเกิดขึ้นว่าคือราคาคุย หรือธนาคารกรุงเทพ จะมีแผนลุยตลาดเอเซีย อย่างจริงจัง เพราะการเป็น" ธนาคารแห่งภูมิภาค" หรือ " Regional Bank" ไม่ใช่เป็นเรื่องง่าย ๆ (นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2537)
เมื่อชาติศิริต้องเป็นวาณิชธนากรในบอร์ดทอท. การเข้ามาของ "โทนี่" หรือชาติศิติ โสภณพนิช ทายาทเจ้าสัวชาตรี ในคณะกรรมการบริหารการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย (ทอท.) ชุดใหม่นี้ ถือได้ว่ามีความหมายในเชิงภาพพจน์ของทายาทหมายเลขหนึ่งแบงก์กรุงเทพและบทบาทใหม่อีกบทบาทหนึ่ง(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2534)
ดร.ไพรินทร์ ชูโชติช่วงถาวร ผู้บุกเบิกปิโตรเคมี ให้ "ชาติศิริ โสภณพนิช" เมื่อเกือบ 20 กว่าปีก่อน ไม่มีใครคาดคิดว่า ประเทศไทยจะขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติขึ้นมาใช้ให้โชติช่วงชัชวาลอย่างเช่นปัจจุบัน และคงจะไม่มีใครคาดคิดเช่นกันว่า ที่ดินชายเลนที่โล่งเตียนสุดลูกหูลูกตา ซึ่งทำประโยชน์อะไรแทบจะไม่ค่อยได้แล้ว(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2532)

Page: 1





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us