Channel 3 New Episode
BEC > No. 67 เป็นเวลามากกว่า 3 ทศวรรษ ที่ตระกูลมาลีนนท์บุกเบิกสถานีโทรทัศน์ช่อง 3 จากธุรกิจที่มีสภาพเกือบล้มละลาย ให้กลายเป็นธุรกิจมีรายได้และผลกำไร จนสามารถเข้าระดมทุนในตลาดหุ้นเป็นรายแรกของโทรทัศน์ไทย แม้กระทั่งในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ ความเข้มแข็งทางการเงินไม่เพียงแต่จะทำให้บีอีซีเวิลด์ไม่เจ็บตัวเหมือนคนอื่นๆ ยังได้ชื่อว่าเป็นบริษัทที่กำเงินสดในมือมากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
ฮ่องกง content center
ในฐานะของผู้บุกเบิกรายการต่างประเทศ จนกลายเป็นเอกลักษณ์ของช่อง 3 แหล่งในการหาซื้อรายการเหล่านี้
ถือเป็นประวัติศาสตร์อย่างหนึ่งช่อง 3
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
Family business
ในบรรดาสถานีโทรทัศน์ทั้ง 6 ช่อง ช่อง 3 เป็นแห่งเดียวที่มีความเป็น "ธุรกิจครอบครัว" มากที่สุด แม้ว่าความเป็นธุรกิจครอบครัวจะทำให้ช่อง 3 ผ่านพ้นวิกฤติมาได้ แต่ก็อาจถึงเวลาต้องทบทวน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
ประวิทย์ มาลีนนท์ Big brother
ในบรรดาลูกชายคนโตทั้งสามของวิชัย ประวิทย์ มาลีนนท์ นับเป็นผู้ที่บทบาทสูงสุดในฐานะแม่ทัพของสถานีโทรทัศน์ช่อง 3 ต่อจากผู้เป็นพ่อ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
Business Role Model
ธนินท์ เจียรวนนท์ เป็นสัญลักษณ์ของกลุ่มเจริญโภคภัณฑ์ หรือซี.พี. ซึ่งได้เคลื่อนย้ายโมเดลธุรกิจ
สร้างธุรกิจครบวงจรให้ความสำคัญในการผลิต โดยเฉพาะธุรกิจอาหาร ที่ขยายภูมิศาสตร์ต่างๆ
อย่างกว้างขวางที่สุด มาสู่การสร้างเครือข่ายการตลาดในสินค้าและบริการที่เข้าถึงผู้บริโภคมากที่สุด
โดยเฉพาะมาโฟกัสในสังคมไทยอย่างมากในช่วง 5-6 ปีมานี้ กลายเป็นธุรกิจเครือข่ายการตลาดที่ใหญ่ที่สุดในสังคมไทยก็ว่าได้
(อาหาร ค้าปลีก ให้บริการด้านสื่อสาร)
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
ประวิทย์ มาลีนนท์ สูตรสำเร็จของช่อง 9
ใครจะรู้ว่า กว่าที่จะได้ชื่อว่าเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งนี้แข็งแกร่งที่สุดในเวลานี้
ช่อง 3 ต้องผ่านการเรียนรู้มาอย่างมากมาย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
ตะวันขึ้นที่ช่อง 3 ยุคทองของมาลีนนท์รุ่น 2
ยี่สิบกว่าปีที่แล้ว วิชัย มาลีนนท์ ต้องต่อสู้อย่างหนักกับการรักษาช่อง
3 จากบริษัทที่เกือบเข้าขั้นล้มละลาย วันนี้ ช่อง 3 กลับถูกจัดชั้นให้เป็นบริษัทที่มีฐานะการเงินที่แข็งแกร่งที่สุดแห่งหนึ่งของเมืองไทย
ภายใต้การบริหารงานของมาลีนนท์รุ่นที่ 2 เพียงเพราะวันนี้ช่อง 3 เรียนรู้ที่จะบริหารเงิน
คู่กับบริหารรายการเท่านั้นหรือ !?
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2542)
"ถล่ม ช่อง 7 สี"
ช่อง 7 สี เกือบจะเป็นผู้ยึดครองตลาดช่วงเวลาไพร์มไทม์ การเปลี่ยนแปลงในเชิงแข่งขันเป็นไปในรูปแบบเดิม ๆ มาช้านาน และสั่นสะเทือนช่อง 7 สีเพียงชั่วครั้งชั่วคราว จนในที่สุดช่อง 5 และช่อง 3 เป็นผู้จุดประทุสงครามหน้าใหม่ รื้อการจัดผังรายการใหม่หมด ปรับเปลี่ยนเวลา คือกลยุทธ์ของผู้ท้าทาย เป้าหมายคือช่วงชิงเวลาทองจากช่อง 7 สีให้ได้
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2539)
"มาลีนนท์ ตลาดหุ้นจะพลิกโฉมทีวี ?"
สถานีโทรทัศน์สีช่อง 3 เป็นสถานีโทรทัศน์เพียงช่องเดียวในเวลานี้ ที่เข้าไประดมเงินทุนจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การเข้าระดมเงินทุนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ของช่อง 3 ไม่ได้ทำในนามของบริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ ซึ่งเป็นผู้รับสัมปทานแพร่ภาพโทรทัศน์ จาก อ.ส.ม.ท. อันเป็นธุรกิจหลัก หากแต่ใช้วิธีการจัดตั้งบริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ขึ้นเป็นโฮลดิ้ง คอมปานี
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2539)
ช่อง 3 ล้มละลาย
"เนื่องจากการดำเนินกิจการที่ผ่านมาต้องต่อสู้กับปัญหานานาชนิดไม่รู้จักหมดสิ้น
และทำให้บริษัทยังขาดทุนอยู่ การที่ผมได้ชักชวนเพื่อนซึ่งรักใคร่นับถือกันมาเข้าชื่อซื้อหุ้นและต้องขาดทุนแบบนี้ผมไม่สบายใจมาก
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2528)