ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ สัญลักษณ์ของการต่อสู้
การต่อสู้ของประชัย เลี่ยวไพรัตน์ เพื่อรักษาอาณาจักรทีพีไอที่เขาสร้างขึ้นมากับมือนั้น ถึงวันหนึ่งน่าจะเป็นกรณีศึกษาที่ดีสำหรับนำไปใช้ในการเรียนการสอนหลักสูตรเอ็มบีเอ เพราะเรื่องนี้ครบเครื่องทั้งในแง่มุมของการทำธุรกิจ การชิงไหวชิงพริบกันด้วยข้อกฎหมาย การใช้ประโยชน์จากตลาดทุนและลากโยงไปจนถึงเรื่องการเมือง นับว่ามีสีสันครบทุกรสชาติ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2549)
Business Role Model
ธนินท์ เจียรวนนท์ เป็นสัญลักษณ์ของกลุ่มเจริญโภคภัณฑ์ หรือซี.พี. ซึ่งได้เคลื่อนย้ายโมเดลธุรกิจ
สร้างธุรกิจครบวงจรให้ความสำคัญในการผลิต โดยเฉพาะธุรกิจอาหาร ที่ขยายภูมิศาสตร์ต่างๆ
อย่างกว้างขวางที่สุด มาสู่การสร้างเครือข่ายการตลาดในสินค้าและบริการที่เข้าถึงผู้บริโภคมากที่สุด
โดยเฉพาะมาโฟกัสในสังคมไทยอย่างมากในช่วง 5-6 ปีมานี้ กลายเป็นธุรกิจเครือข่ายการตลาดที่ใหญ่ที่สุดในสังคมไทยก็ว่าได้
(อาหาร ค้าปลีก ให้บริการด้านสื่อสาร)
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
6 ปีที่ผ่านไป
ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ และสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง เป็นสองลูกหนี้ที่ดำรงบทบาทอย่างมีสีสันมาก
ตลอดระยะเวลานับตั้งแต่ประเทศไทยต้องประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์
ที่เริ่มตั้งแต่วันที่ 2 กรกฎาคม 2540 เป็นต้นมา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
51 วันกับค่าจ้าง 7.5 ล้านบาท
เป็นเหมือนเกมที่พลิกผันตลอดเวลากว่า 1 เดือน ภายหลังศาลล้มละลายกลางมีคำพิพากษาถอดบริษัทเอฟเฟคทีฟ
แพลนเนอร์ส (EPL) ออกจากการเป็นผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัทปิโตรเคมีกัลไทย
(TPI) และแต่งตั้งประชัย เลี่ยวไพรัตน์ อดีตผู้บริหาร ผู้ซึ่งแสดงบทบาทเป็นไม้เบื่อไม้เมากับเจ้าหนี้มาตลอดเวลากว่า
3 ปี เข้าเป็นผู้บริหารแผนชั่วคราว ร่วมกับเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ (จพท.)
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
เกมที่เปลี่ยนแทบทุกวัน
21 เม.ย.
- ศาลล้มละลายกลางมีคำพิพากษาถอดบริษัทเอฟเฟคทีฟ แพลนเนอร์ส (EPL) ออกจากการเป็นผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ
TPI เนื่องจากเห็นว่าไม่สามารถบริหารได้ตามแผน และได้แต่งตั้งประชัย เลี่ยวไพรัตน์
ผู้บริหารเดิมร่วมกับเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ (จพท.) เป็นผู้บริหารแผนชั่วคราว
ก่อนให้เจ้าหนี้ลงมติคัดเลือกผู้บริหารแผนรายใหม่ภายใน 30 วัน อย่างไรก็ตาม
EPL ยังเป็นผู้บริหารแผนของบริษัทในเครือ TPI อีก 6 แห่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ กับตำแหน่งใหม่ใน BUI
ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทบางกอกสหประกันภัย (BUI) ครั้งที่ 3/2543 เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม ได้มีมติให้ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ เปลี่ยนตำแหน่งจากประธานกรรมการบริษัท ขึ้นเป็นประธานกรรมการบริหาร โดยให้มนู เลียวไพโรจน์ ขึ้นเป็นประธานกรรมการบริษัทแทน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2543)
ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ LOCAL HERO
อรรถาธิบายความเป็นมาอาณาจักรทีพีไอ และปัญหาความขัดแย้งการปรับโครงสร้างหนี้กรณีทีพีไอ จนนำไปสู่การสูญเสียอำนาจควบคุมกิจการของประชัย เลี่ยวไพรัตน์ ภายหลังที่ประชุมเจ้าหนี้แต่งตั้งเอ็ฟเฟคทีฟ แพลนเนอร์สเป็นผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2543)
วิกฤติทีพีไอ ในสายตาสื่อตะวันตก
สื่อต่างประเทศให้ความสนใจกับความเคลื่อนไหวของบมจ.อุตสาหกรรมปิโตรเคมีคัลไทย (ทีพีไอ) มาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะช่วงก่อนการลงคะแนนเพื่อลงคะแนนเลือกผู้จัดทำแผนฟื้นฟูกิจการทีพีไอ จนกระทั่งวันประกาศชัยชนะของเจ้าหนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2543)
หนี้ก้อนใหญ่ TPI ยังไม่จบง่ายๆ
ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ กำลังสร้างความปวดหัวใหักับบรรดาเจ้าหนี้ได้ต่อไปอย่างไม่หยุดหย่อน เมื่อเขาพยายามดึงเกมการปรับโครงสร้างหนี้ TPI ออกไปให้นานที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2543)