เป้าหมายสู่ Golden Jubilee
บทบาท 25 ปีแรกของศศินทร์เพื่อป้อนบัณฑิตให้ในประเทศ 100% ปัจจุบันการเข้ามาของโลกาภิวัตน์ทำให้ธุรกิจไม่สามารถอิงกับพื้นที่ตั้งเพียงอย่างเดียว บทบาทของศศินทร์ก็ต้องเปลี่ยนแปลงไป ทั้งศาสตราจารย์เติมศักดิ์ กฤษณามระ, กิตติรัตน์ ณ ระนอง และเหล่าศิษย์เก่าต่างคิดตรงกันว่า นับแต่นี้ไปศศินทร์จะต้องเป็น International Business School ชั้นนำในภูมิภาคนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2550)
พระเอกของตลาดหุ้นปี 47
อาจจะเป็น speech ส่งท้ายสำหรับปี 2546 ของกิตติรัตน์ ณ ระนอง กรรมการและผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แต่สามารถฉายภาพของตลาดทุนในปี 2547 ได้ค่อนข้างกระจ่าง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2547)
The 3rd Generation
มูลค่าการซื้อขายหุ้นที่พุ่งสูงขึ้นอย่างดึงไม่หยุด ฉุดไม่อยู่ มิใช่เป็นเพียงการบ่งชี้ถึงการฟื้นตัวของภาคเศรษฐกิจที่แท้จริง แต่ยังเป็นภาพสะท้อนถึงบทบาทของพัฒนาการทางเทคโนโลยี ที่ได้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเล่นหุ้นของนักลงทุนในตลาดหลักทรัพย์กลุ่มหนึ่งซึ่งกำลังเริ่มขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)
เมื่อนักวิเคราะห์สวมหมวกผู้จัดการตลาดหุ้น
เห็นบทบาทที่กิตติรัตน์ ณ ระนอง แสดงออกเมื่อภาวะการซื้อขายหุ้นในตลาดเกิดความผันผวนแล้ว
ทำให้หลายคน นึกถึงคนที่ชื่อ ดร.มารวย ผดุงสิทธิ์
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2545)
The Professional
การได้กิตติรัตน์ ณ ระนอง เข้ามาเป็นกรรมการและ
ผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์ฯ ถือเป็นชัยชนะครั้งแรก
ในประวัติศาสตร์ ที่คนจากภาคธุรกิจหลักทรัพย์
สามารถเข้ามามีบทบาทเป็นผู้บริหารสูงสุดของตลาดหุ้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2545)
กิตติรัตน์ ณ ระนอง เขาโชคร้ายกว่าเพื่อน
กิตติรัตน์ ณ ระนอง อาจเป็นผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยที่โชคร้ายที่สุด
เพราะต้องพบกับสิ่งที่เลวร้ายทันทีที่เข้ารับตำแหน่ง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2544)
สถาบันการเงินของรัฐจัดบุคลากรลงตัว
ยุทธ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารศรีนคร โดยเริ่มงานวันแรกเมื่อวันที่
15 สิงหาคมที่ผ่านมา ขณะที่กนกได้เข้ามาเป็นกรรมการผู้จัดการ บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม
(บอย.) ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน ส่วนกิตติรัตน์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
มีผลวันที่ 10 กันยายน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2544)
กิตติรัตน์ ณ ระนอง "เถ้าแก่" คนใหม่
15 ปีแห่งการทำงานของชายหนุ่มผู้มากไปด้วยประสบการณ์และคอนเนกชั่น
บนถนนสายธุรกิจทั้งการเงินและหลักทรัพย์ วิถีการเป็นมือปืนรับจ้างของเขาได้ยุติลงแล้ว
เขากลายมาเป็น "เถ้าแก่" ที่โดดลงมาทำงานกับ "ลูกค้า" เอง พร้อมกับทีมงานอีก 11
คนก่อตั้งบริษัท ที่ปรึกษาคนไทยล้วน ซึ่งทำให้เขากับเพื่อนได้ชื่อว่ายังมีงานทำ
ในยุคมืดของสถาบันการเงินไทย
แสนสิริ vs สตาร์วู้ด เป็นดีลแรกที่เปิดตัวเขาอย่างงดงาม หลังจากเงียบหายไปนานถึง
2 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2542)
กิตติรัตน์ ณ ระนอง อัศวินของแสนสิริ
ชื่อของ กิตติรัตน์ ณ ระนอง เงียบหายไปพักใหญ่ ในช่วงที่เกิดวิกฤติเพราะสถาบันการเงินไทยล้ม
ระเนระนาด แม้ออฟฟิศสุดท้ายของเขาคือ บล.เอกธำรงจะยังคงอยู่โดยมีผู้ถือหุ้นหน้าใหม่ชาวไต้หวันเข้ามา
แต่เขาก็เลือกที่จะออกมาทำกิจการของตัวเองเสียที
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2542)