บรรณวิทย์ บุญญรัตน์ การเริ่มต้นของรีเทลแบงกิ้ง
แม้ว่าบรรณวิทย์จะจากโลกนี้ไปแล้ว พร้อมๆ กับการปิดฉากตำนานความยิ่งใหญ่ของสยามมีเดีย แอนด์ คอมมิวนิเคชั่น แต่ผลงานของเอทีเอ็มที่เขาเป็นผู้บุกเบิกขึ้นมา ก็ยังทรงพลังของตัวเองและจะทวีความสำคัญยิ่งขึ้น เพราะมันคือยุทธศาสตร์ที่สำคัญของการที่แบงก์ก้าวไปสู่รีเทลแบงกิ้ง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
ไอทีวีกับเนชั่น CONFLICT OF INTEREST
ไอทีวีเดินทางมาแล้ว 3 ปีเต็ม แต่ภารกิจของธนาคารไทยพาณิชย์ยังแค่เริ่มต้น
เป็นเวลา 3 ปีเต็ม ที่แบงก์ไทยพาณิชย์เพิ่งพบว่า ยังไม่ได้รับประโยชน์อะไรจากสถานีโทรทัศน์
"ไอทีวี" ที่ควักกระเป๋าลงทุนไปแล้วเกือบสี่พันล้านบาทจากการเป็นทั้งเจ้าหนี้และผู้ถือหุ้น
และยังต้องสางปัญหาใหญ่ขาดทุนของไอทีวีที่รออยู่ข้างหน้า
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2542)
ปิดฉากบรรณวิทย์ บุญญรัตน์ ไม่มีที่ว่างของเขาอีกต่อไป
บรรณวิทย์ บุญญรัตน์ และสยามมีเดีย แอนด์ คอมมิวนิเคชั่น เป็นกรณีศึกษาที่มักถูกหยิบยกมาเสมอ
กับความล้มเหลว ที่เกิดขึ้นจากการขยายอาณาจักรธุรกิจเกินตัวบทสรุปของการบริหารงานที่ผิดพลาดในครั้งนั้นก็คือ
การลบชื่อของบรรณวิทย์ออกจากกิจการของสยามมีเดียฯ ทุกตำแหน่ง
เพราะนี่คือบาดแผลของแบงก์ไทยพาณิชย์ ที่ต้องเช็ดให้สะอาด
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2542)
"บรรณวิทย์ บุญญรัตน์ ปลื้มใจได้แค่ ZONE ONE"
เพิ่งออกจากโรงพยาบาลได้แค่เดือนกว่า ๆ บรรณวิทย์ บุญญรัตน์ ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้อำนวยการใหญ่กลุ่มสยามทีวีก็ต้องลุยงานหนักหน่วง
นับเป็นเรื่องต้องให้กำลังใจกัน การเร่งหารายได้ออกจะเต็มไปด้วยความยากลำบาก
เศรษฐฏิจฟองสบู่เริ่มแตกดับเหนืออุตสาหกรรมไอทีและมีเดีย การสร้างความได้เปรียบในเชิงมีธุรกิจอย่างครบวงจร
กลับกลายเป็นความสิ้นเปลือง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2540)
บรรณวิทย์ บุญญรัตน์ ปลาหมึกที่หนวดกำลังพันตัวเอง?
เมื่อ 20 กว่าปีมาแล้ว บรรณวิทย์ยังเป็นเพียงแค่โปรแกรมเมอร์คนหนึ่งของสำนักงานสถิติแห่งชาติ และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟอ.) ต่อมาเมื่อธนาคารได้เริ่มนำเอาเทคโนโลยีมาใช้ในกิจการ บรรณวิทย์ได้ผันตัวเองไปอยู่ฝ่ายระบบคอมพิวเตอร์ ธนาคารกรุงเทพ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2538)
"บรรณวิทย์มีความทะเยอทะยานสูง"
ประทิน รู้จักกับบรรณวิทย์ ตั้งแต่สมัยยังทำงานอยู่ฝ่ายอบรมคอมพิวเตอร์ ไอบีเอ็ม ประเทศไทยซึ่งต้องไปอบรมเรื่องคอมพิวเตอร์ให้กับแบงก์กรุงเทพ และในเวลานั้นบรรณวิทย์ยังเป็นแค่โปรแกรมเมอร์ในแผนกคอมพิวเตอร์แบงก์กรุงเทพ ปัจจุบันประทิน นั่งเป็นประธานกรรมการ บริษัทไทยฟูจิซีร็อกส์ ในเครือทรัพย์สิน ที่มีแบงก์ไทยพาณิชย์ เป็นผู้ถือหุ้นร่วมด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2538)
เลือดเก่าที่ไม่ยอมเปลี่ยนสี
ในเวลาไม่ช้านี้ บรรณวิทย์จะย้ายกำลังพลของสยามทีวี ไปยังอาคารแห่งใหม่บริเวณในไทยพาณิชย์ปาร์คพลาซ่ารัชโยธิน ที่มีชื่อว่าอาคารสยามศีนิมา ซึ่งจะจัดตั้งขึ้นมาในรูปบริษัท
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2538)
เก๋ไปอีกแบบ ไทยพาณิชย์ “มีท เดอะ เพรส”
ปกติของการทำข่าว (ก็ของนักข่าวนั่นแหละ) สายการเงิน-การคลังแล้ว แวดวงของสายข่าวก็มักจะเวียนว่ายอยู่ระหว่างธนาคารแห่งประเทศไทยกับกระทรวงการคลัง เมื่อมองในแง่ของภาคราชการ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2527)