สุรินทร์ พิศสุวรรณ ปลุกเอสเอ็มอีใช้โอกาสในอาฟตา
นโยบายยกเลิกภาษีสินค้าเหลือศูนย์เปอร์เซ็นต์ ภายใต้การเปิดเสรีการค้าอาฟตา (AFTA) ของ 10 ประเทศในกลุ่มอาเซียนได้เริ่มต้นมากว่าครึ่งปี หลังจากประกาศใช้เมื่อเดือนมกราคม 2553 แต่ธุรกิจเอสเอ็มอีไทยยังไม่แน่ใจจะใช้โอกาสนี้อย่างไร
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา สิงหาคม 2553)
ส่งออกรถยนต์ไปอาเซียนพุ่งทะยานหลัง AFTA
ยอดการส่งออกรถยนต์เดือนมิถุนายน 2553 โดยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ยังคงขยายตัวต่อเนื่องในระดับสูง ถึงร้อยละ 95.7 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันในปีที่แล้ว คิดเป็นจำนวนรถยนต์ส่งออก 69,279 คัน ส่งผลทำให้ในช่วงครึ่งแรกของปี 2553 ที่ผ่านมา ประเทศไทยส่งออกรถยนต์ไปต่างประเทศเป็นจำนวน 418,178 คัน ขยายตัวเพิ่มขึ้นกว่าช่วงเดียวกันในปีที่แล้วที่มีจำนวนเพียง 234,822 คัน ถึงร้อยละ 78.1
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา สิงหาคม 2553)
น้ำตาลหวานหลัง AFTA
ขณะที่ผลกระทบความตกลงการค้าอาเซียน (AFTA) อาจสร้างความกังวลใจให้อุตสาหกรรมน้อยใหญ่จำนวนไม่น้อย จากผลของความไม่ชัดเจนในเชิงยุทธศาสตร์และนโยบายจากภาครัฐ
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2553)
น้ำตาลไทย หลัง ASEAN ปรับลดภาษี
อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลของไทยมาถึงจุดเปลี่ยนสำคัญ หลังจากที่ข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียนกำหนดให้ประเทศสมาชิกในกลุ่มต้องปรับลดภาษีนำเข้าสินค้าต่างๆ รวมทั้งน้ำตาลลงเหลือร้อยละ 0 ในวันที่ 1 มกราคม 2553
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2553)
ข้าว: เหยื่อที่อ่อนไหวของการค้าเสรี?
ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 ประเทศในกลุ่มอาเซียนเดิม 6 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และบรูไน มีข้อผูกพันจะต้องลดภาษีสินค้าทั้งหมดที่อยู่ในบัญชีสินค้าปกติ (Inclusion List: IL) เป็นร้อยละ 0 ขณะที่กลุ่มประเทศอาเซียนใหม่ 4 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว เวียดนาม และพม่า จะลดภาษีสินค้าทั้งหมดที่อยู่ในบัญชีสินค้าปกติเป็นร้อยละ 0 ภายในปี 2558
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2552)