เครื่องมือการตลาดที่ทรงพลัง
ความเปลี่ยนแปลงของเพลงลูกทุ่ง ทำให้สินค้าหลายประเภทต่างมองหาโอกาสใช้ช่องทางนี้มาเป็นเครื่องมือการตลาดใหม่ๆ รูปร่างหน้าตาของเพลงลูกทุ่งเปลี่ยนไปในทิศทางที่ทันสมัยขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
โปงลางสะออน+หลวงไก่+จินตหรา = สูตรเด็ด อาร์สยาม
โปงลางสะออนอาจจะเป็นวงดนตรีวงเดียวที่ไม่ได้ออกอัลบั้มแต่มีคนเสิร์ตออกมาสร้างกระแสก่อน เพราะฐานเดิมของโปงลางก็คือ ผู้ชมในร้านอาหารที่พวกเขาตะเวนเล่นมานานกว่า 3 ปี ก่อนที่จะตัดสินใจเข้าสังกัดอาร์สยาม
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
ขอนไม้กับเรือ มิวสิกซีรี่ส์ 3 ตอนจบ
เครื่องมือในการส่งให้เพลงแรงขึ้น หรือดึงความสนใจของคนฟังได้มากขึ้นก็คือมิวสิกวิดีโอ ซึ่งมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในช่วงหลัง และมิวสิกวิดีโอเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่ค่ายอาร์สยามกำหนดไว้ว่าจะเป็นเหมือนกองหนุนส่งเพลงไปให้ถึงฝัน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
กฎ 3 ข้อของหนู มิเตอร์
หนู มิเตอร์ แม้จะไม่โด่งดังแบบไฟลามทุ่งเหมือนศิลปินคนอื่นๆ แต่ชื่อเสียงของเขาก็เกาะกินใจคนฟังเพลงลูกทุ่ง เพลงเพื่อชีวิต และมีแฟนเพลงขาประจำไม่น้อยหน้าใครเช่นกัน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
คนทำหนังที่มาทำลูกทุ่ง
ศุภชัย นิลวรรณ ไม่ได้เป็นนักร้องหรือเป็นนักดนตรี แต่เขาผ่านงานด้านภาพยนตร์ ละคร รายการโทรทัศน์มาก่อน การเข้ามาทำเพลงลูกทุ่งจึงกลายเป็นของใหม่ที่เขาต้องการทดลอง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
อาร์สยามได้เวลาบุกอีสาน
การเข้าสู่ธุรกิจเพลงลูกทุ่งของบริษัท อาร์สยาม บริษัทในเครือของอาร์เอส ก็เป็นอีกหนึ่งคำตอบที่ชี้ให้เห็นว่า เพลงลูกทุ่งในสายตาของบริษัทเทป น่าสนใจเพียงใด แม้จะถูกมองว่าไม่ทันสมัย แต่ผลที่ได้น่าสนใจยิ่งนัก
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)