Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Profile Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ124  
Positioning9  
ผู้จัดการรายวัน119  
ผู้จัดการรายสัปดาห์6  
PR News186  
Web Sites1  
Total 439  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > ธนาคารกรุงเทพ, บมจ.


นิตยสารผู้จัดการ (61 - 70 of 124 items)
ชาตรี-พิเชษฐ์ ใครลึกกว่าใคร ? แบงก์กรุงเทพต้องเสียหน้า (มากทีเดียว) กับคดีฟ้องร้องวังน้ำฝน ซึ่งนอกจากทำตามกระบวนความแล้วยังมีอีกเหตุผลหนึ่งคือ ชาตรีเริ่มรู้ถึงความไม่ปลอดภัยของปัญหานี้ เพราะเห็นว่าพิเชษฐ์ชัก ไม่จริงจังกับปัญหาหลังจากที่ จม.เสนอแผนงานที่ส่งมาถึงแบงก์เมื่อเดือนสิงหาคมปีที่แล้วของเขาถูกตอบปฏิเสธ(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
แผนหมูสามชั้น ข่าวดีที่แบงก์กลัวเจ็บตัวอีก !? หลังปล่อยให้วังน้ำฝนมีอิสระในการแก้ไขปัญหาเกือบหนึ่งปีเต็ม แบงก์กรุงเทพก็พอมองออกเลา ๆ แล้วว่า ตัวเองคงหมดความหวังกับวังน้ำฝนเสียแล้ว ดังนั้นจึงได้ยื่นข้อเสนอแบบค่อย ๆ บีบและ ไม่น่าเกลียดจนเกินไปนักรวมทั้งวังน้ำฝนเองก็ไม่มีสิทธิ์ปฏิเสธ 3 ข้อใหญ่คือ(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
หนี้(เสีย) 700 ล้าน วังน้ำฝน เมื่อแบงก์กรุงเทพถูก "หมู" ขวิดจนอ่วม และแล้วก็ต้องขายผ้า เอาหน้ารอด ?? ธุรกิจเกษตรสมัยใหม่ของ "วังน้ำฝน" ที่กลายเป็นน้ำกรดแช่เย็นราดรดใจแบงก์กรุงเทพให้ขบคิดอย่างหนัก ถึงจะไม่ใช่โศกนาฎกรรมใหญ่ของแบงก์นี้ก็ตาม ทว่าก็เป็นเรื่องสุดเศร้าอีกบทหนึ่งในตำนานเจ้าหนี้-ลูกหนี้ โดยเฉพาะข้อแปลกแยกของกรณีนี้ที่เกิดขึ้นเพราะกุศลกรรมในเชิงธุรกิจแท้ ๆ เทียว !!!(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
ชูศักดิ์ หิมะทองคำ เขาติดกับดักตัวเองแท้ ๆ เมื่อเกือบ 10 ปีก่อน ชื่อของชูศักดิ์ หิมะทองคำ เจ้าหน้าที่แบงก์กรุงเทพระดับ VP ดังระเบิดทั่วยุทธจักรการเงินในบ้านเรา เมื่อเขาริเริ่มโครงการสินเชื่อเกษตรครบวงจร "หนองหว้า" ร่วมกับเจริญโภคภัณฑ์ นัยว่าโครงการสินเชื่อชิ้นนี้ประสบผลดียิ่งจนผู้ใหญ่หลายคนในแบงก์ให้การยอมรับในฝีมือชูศักดิ์เป็นอย่างมาก(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
หลังชิน "เส้นทางการบริหารมรดกธุรกิจ?" ชิน โสภณพนิช…ได้กลายเป็นประวัติศาสตร์ไปแล้ว หลังการตายของเขาเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2531 เรื่องราวและประสบการณ์ในการบริหารธนสารสมบัติของเขาในย่านแฟซิฟิกริม เป็นตำนานเล่าขานที่ถูกบันทึกไว้เป็นประวัติศาสตร์เพื่อการศึกษาแก่ชนรุ่นหลังอย่างมากมาย(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
ฐานะทางประวัติศาสตร์ของนายชิน โสภณพนิช มรณกรรมของนายชิน โสภณพนิช เมื่อวันอาทิตย์ที่ 3 มกราคม 2531 ไม่เพียงแต่จะยังความสูญเสียแก่ตระกูลโสภณพนิชเท่านั้น หากยังความสูญเสียแก่กลุ่มทุนนิยมไทยอย่างสำคัญอีกด้วย อาจจะไม่ผิดนักที่จะกล่าวว่า ประวัติชีวิตของนายชินก็คือ ภาพลักษณ์แห่งการเติบโตระบบทุนนิยมในประเทศไทยในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
"ณรงค์ มหานนท์ เดินสายหลังเกษียณ" สมัยก่อนผู้ยิ่งใหญ่วงการเมืองมักจะมาดำรงตำแหน่งตามบริษัทใหญ่ ๆ อย่างประภาส จารุเสถียร มานั่งเป็นประธานกรรมการธนาคารกรุงเทพฯ หรือบรรดาจอมพลทั้งหลายมานั่งเป็นอธิการบดีหลาย ๆ มหาวิทยาลัย(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
"ดำรงค์ กฤษณามระ แบบฉบับนายธนาคารมืออาชีพ"แท้ ๆ" "เมื่อเอ่ยชื่อธนาคารกรุงเทพ หลายคนมักจะนึกถึง "โสภณพนิช" กับความสำเร็จของแบงก์ แต่ไม่ค่อยมีใครมองว่าปัจจัยที่ทำให้แบงก์เติบโตยิ่งใหญ่ในทุกวันนี้(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
"ชิน โสภณพนิช หนังเหนียวกว่าที่คิด" ตอนที่ชิน โสภณพนิชต้องระเห็จไปอยู่ที่ฮ่องกงเมื่อปี 2501 นั้น ใครต่อใครก็นึกว่าชินคงจะต้องปักหลักอยู่ที่นั่นไปตลอด ทิ้งแบงก์กรุงเทพให้บุญชู โรจนเสถียรดูแล(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
ชาตรี โสภณพนิช บนชะง่อนผาสูงชัน คนโตของแบงก์ใหญ่ที่สุดในอาเซียนอย่างชาตรี โสภณพนิช ดูจะไม่แตกต่างจาก OVERSEA-CHINESES คนอื่น ๆ เลย เขากล่าวว่าเขายังไม่คิดเรื่องรีไทร์แม้เขาจะอายุย่างเข้า 54 ปีแล้ว(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)

Page: 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 ..





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us