"จินดา จรุงเจริญเวชช์ เมื่อนางสิงห์ต้องสะอื้น"
จินดา จรุงเจริญเวชช์หรือ "พี่เตี้ย" สำหรับน้อง ๆ ถือเป็นผู้หญิงที่ทำงานเก่งมาก ๆ อีกคนหนึ่ง เธออาจเป็นผู้หญิงเหล็กที่ทำงานราวผู้ชายอกสามศอก อยู่ระดับแถวหน้าของแบงก์กรุงเทพที่สามารถสร้างธุรกรรมแนวใหม่ที่ให้บริการคนรวยได้มาก ๆ จนกระทั่งสามารถระดมเงินฝากให้แบงก์ได้สูงที่สุดคนหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2539)
"หนี้ที่ต้องล้างด้วยกฎหมาย เป้าหมายคือแบงก์กรุงเทพ"
แม้ว่าแบงก์กรุงเทพจะแจ้งให้ สศก. จับนิตยาในข้อหาปลอมแปลงเอกสาร แต่ลูกค้าตระหนักดีว่าการหาความจริงออกมาเพื่อเรียกเงินคืนจากนิตยาในคุกลาดยาว ก็เหมือนรีดเลือดจากปู "เสียดายว่าจับนิตยาเร็วไปหน่อย ถ้าไม่ประโคมข่าวคงจะได้เงินคืนมากกว่านี้" หนึ่งในผู้เสียหายที่มีอยู่ 17 รายบ่นให้ฟังเหมือนที่เคยได้ยินจากลูกแชร์ชม้อยเปี๊ยบ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2539)
"การต่อสู้ของอินทรฑูต"
เกริกเกียรติ ชาลีจันทร์ ไม่ใช่คนแรกที่เขียนตำนานอันเร้าใจบทนี้ บีบีซี เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2487 แถว ๆ ทรงวาดในยุคนั้น บีบีซีก็เหมือนธนาคารยุคแรก ๆ ที่ควบคุมโดยพ่อค้าเชื้อสายจีน เช่นธนาคารทั่วไปโดยมีหัวเรือใหญ่คือ
ตัน จิน เกง พ่อค้าจีนผู้มีชื่อเสียง ประสบการณ์ธุรกิจครบเครื่องเจ้าของกิจการเดินเรือใหญ่ บริษัทโหงวฮก ได้ชักชวน ตัน ซิ่ว เม้ง หวั่งหลี บุลสุข สหัท มหาคุณลงขันตั้งธนาคารขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2539)
"โทนี่และปั้น"
"โทนี่" ในที่นี้คือชาติศิริโสภณพนิชและ "ปั้น" ก็คือบัณฑูร ล่ำซำ กรรมการผู้จัดการใหญ่ของแบงก์กรุงเทพและแบงก์กสิกรไทยตามลำดับ ทั้งสองคนนั้นอาจจะถูกมองอย่างริษยาว่าต่างก็เกิดมาบนกองเงินกองทอง เพราะทั้งสองนามสกุลนั้นหลายคนแปลว่า "เงิน" หรือ "รวย"
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2538)
ชาตรี โสภณพนิช "แบงก์ไม่เคยคาดคั้นเลยว่าจะต้องให้มาชำระเงิน"
"ผมรู้จักกับดำริห์มา 20 กว่าปีแล้ว ซ่งพ่อผมกับพ่อเขาก็รู้จักกันมาก่อน เรื่องที่กิดขึนนี้ผมเสียใจมาก ๆ ปัญหาที่เกิดขึ้นน่าจะค่อย ๆ แก้ไขไป ไม่น่าจะเอาชีวิตตัวเองเข้าไปแลกเพระาโดยปกติดำริห์เขาเป็นคนกล้าหาญและสู้งานนะ" นี่คือ คำกล่าวของชาตรี โสสภณพนิช
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
แบงก์กรุงเทพหลังกึ่งศตวรรษ ต้องทำมากกว่าที่ผ่านมา
ชาติศิริ โสภณพนิช กรรมการผู้จัดการใหญ่ คนใหม่ ของธนาคารกรุงเทพ โสภณพนิช
รุ่นที่ 3 ซึ่งเข้ามารั้งตำแหน่งหมายเลข 1 ของธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
ตั้งแต่เดือนนี้ ประกาศที่จะดำเนินนโยบายสู่การเป็นธนาคารแห่งภูมิภาคเอเชียในปี
2540 ทำให้คนในวงการมีคำถามเกิดขึ้นว่าคือราคาคุย หรือธนาคารกรุงเทพ จะมีแผนลุยตลาดเอเซีย
อย่างจริงจัง เพราะการเป็น" ธนาคารแห่งภูมิภาค" หรือ " Regional
Bank" ไม่ใช่เป็นเรื่องง่าย ๆ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2537)
"ครั้งแรกในชีวิตโฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ ลูกจ้างของแบงก์กรุงเทพ"
โฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ก้าวเข้าเป็นประธานคณะกรรมการบริหารจัดการและวางแผนของธนาคารกรุงเทพอย่างเต็มตัวตั้งแต่วันที่
1 กันยายนศกนี้ ตำแหน่งนี้เพิ่งตั้งขึ้นมาใหม่เพื่อปรับแต่งโครงสร้างองค์กรแบงก์เก่าแก่อายุ 50 ปีนี้ให้คล่องตัวมีความสามารถเชิงแข่งขันในอนาคต 5 ปีข้างหน้าและรองรับการเปลี่ยนแปลงใหม่ของทายาทผู้นำ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2537)
"พิทยา สิทธิอำนวย จีเอ็มกองทุนรวมบัวหลวงคนแรก"
ไปไหนมาไหนคนมักทักเป็นอะไรกับพร สิทธิอำนวยหรือปิติ สิทธิอำนวยโดยสายเลือด
พิทยาคือลูกชายคนที่ห้าในจำนวนหกคนของ ปิติ สิทธิอำนวย แห่งแบงก์กรุงเทพ
ความที่เป็นลูกชายปิติทำให้พิทยาได้รู้จักมักคุ้นกับผู้จัดการสาขาของแบงก์กรุงเทพ
ซึ่งจะมาสังสรรค์กันในวันเกิดของพ่อทุกปี พิทยาจึงทำงานบุกเบิกด้านการตลาดของกองทุนรวมบัวหลวงได้ง่ายขึ้นจากฐานความสัมพันธ์ดังกล่าว
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2537)
"บัวหลวง พรีเมียร์" เอทีเอ็มข้ามทวีป"
และแล้วบัตรเอทีเอ็มบัวหลวงของธนาคารกรุงเทพก็ยกระดับการให้บริการขึ้นสู่ก้าวใหม่อีกครั้งหนึ่ง
หลังจากล้ำหน้าคู่แข่งด้วยบริการเบิกถอนตลอด 24 ชั่วโมงไปแล้ว คราวนี้วิ่งนำหน้าไปอีกด้วยบัตรเอทีเอ็ม
บัวหลวงพรีเมียร์ที่ผู้ถือบัตรสามารถเบิกเงินสดได้จากตู้เอทีเอ็มทั่วโลก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2536)
บัว (หลวง) บานในโฮจิมินห์ซิตี้ มรดกความคิด "ตั้งเพียกชิ้ง"
17 ปีที่แล้ว ธนาคารกรุงเทพต้องปิดสาขา 3 แห่งในไซ่ง่อนหลังจากชัยชนะขั้นเบ็ดเสร็จของพรรคคอมมิวนิสต์
ภายใต้ความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจโลก วันนี้ธนาคารกรุงเทพกลับเข้าไปในเวียดนามใหม่
แม้วันเวลาและเงื่อนไขแวดล้อมจะผันแปรไป แต่รากฐานธุรกิจหลักของแบงก์กรุงเทพสาขาเวียดนามยังอิงแอบอยู่กับสายสัมพันธ์อันแนบแน่นกับพลังธุรกิจชาวจีนโพ้นทะเล
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)