ก้าวย่างใน AEC ของแบงก์ไทยเบอร์ 1
นัยของการเปิดสาขาที่ 2 ในอินโดนีเซียของธนาคารกรุงเทพ เมื่อปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ดูจะไม่ต่างจากปัจจัยในการเปิดสาขาแรกเมื่อ 44 ปีก่อน คือ เพื่อเป็น “เพื่อนคู่คิด” ให้ลูกค้า ซึ่ง ณ วันนั้นแทบไม่มีใครเชื่อด้วยซ้ำว่า “ตลาดอาเซียน” จะทรงพลังได้มากเยี่ยงวันนี้
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2555)
มองทะลุมิติ AEC Financial
การเดินทางของผู้บริหารเมย์แบงก์ สถาบันการเงินอันดับหนึ่งของมาเลเซีย เข้ามาแถลงข่าวอย่างเป็นทางการในประเทศไทย หลังจากซื้อบริษัทหลักทรัพย์กิมเอ็งเมื่อต้นปีที่ผ่านมา เป็นส่วนหนึ่งสะท้อนให้เห็นว่าการเคลื่อนย้ายฐานการลงทุนของสถาบันการเงินในกลุ่มประเทศอาเซียนทวีความเข้มข้นมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2555)
ปรับตัวธุรกิจหลังวิกฤติน้ำท่วม
วิกฤติน้ำท่วมครั้งร้ายแรงในรอบ 50 ปีของประเทศไทย ทำให้นักธุรกิจต้องวางแผนและปรับตัวอย่างมากและติดตามอย่างใกล้ชิด
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2554)
เศรษฐกิจเปราะบาง
เหตุการณ์น้ำท่วมในปีนี้ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะถือว่าเป็นเรื่องใกล้ตัวมากที่สุด ยิ่งมีการประเมินความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยรวมทั้งหมด ว่ากันว่ามีมูลค่าถึง 1 ล้านล้านบาท แต่สิ่งที่เกิดขึ้นไม่สามารถสรุปว่าเป็นทิศทางเศรษฐกิจของไทยทั้งหมด ทว่า ความเปราะบางของเศรษฐกิจโลกเป็นเรื่องที่ต้องจับตามองต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2554)
ห้วงเวลาต้องระวัง
แม้ว่าอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศในปีหน้า โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัฐ มองว่าจะยังดีอยู่ แต่ยังต้องอยู่ในภาวะเฝ้าระวัง โดยเฉพาะธุรกิจส่งออก
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2554)
เมื่อ 2 ยักษ์จับมือกัน
ความเป็นไปในแวดวงการเงินกำลังถูกปลุกให้ตื่นขึ้นอีกครั้งหลังจากที่ธนาคารกรุงเทพ ซึ่งถือเป็นธนาคารขนาดใหญ่สุดของไทยประกาศจับมือกับธนาคารไอซีบีซี ด้วยการร่วมลงนามในสัญญาให้การสนับสนุนทางการเงินระหว่างกันในประเทศไทย และสาธารณรัฐประชาชนจีน วงเงิน 8,000 ล้านบาท เพื่อเสริมศักยภาพและสภาพคล่องให้กับธนาคารไอซีบีซี (ไทย) และธนาคารกรุงเทพ (ประเทศจีน) รองรับการแข่งขันและการให้บริการทางการเงินของทั้ง 2 ธนาคาร
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2554)
ประเทศไทยต้องเปลี่ยน
คำพยากรณ์ของโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ ประธานกรรมการบริหาร ธนาคารกรุงเทพ กล่าวถึงอนาคตของประเทศไทยในงานสัมมนาการลงทุนเรื่อง “พยากรณ์เศรษฐกิจ และแนวโน้มการลงทุนปีกระต่าย” ของธนาคารกรุงเทพที่จัดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ ได้สะท้อนคำเตือนในมุมมองของนักเศรษฐศาสตร์ระดับมหภาค
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มีนาคม 2554)
ประสงค์ อุทัยแสงชัย China Expert
จีนเปรียบเหมือนหัวมังกรในยุคนี้ เพราะประสงค์ อุทัยแสงชัย บอกว่า สิ่งที่ยืนยันความคิดของเขามี 3 เรื่อง การเมืองมั่นคง ทั่วโลกต่างหันมาลงทุน และสังคมดี
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2553)
ทำไมเป็น “ผันกู่” ไม่ใช่ “มั่นกู่”
คนที่พอรู้ภาษาจีนแบบงูๆ ปลาๆ เมื่อทราบข่าวว่าธนาคารกรุงเทพได้ใบอนุญาตทำธนาคารพาณิชย์ท้องถิ่นในจีน หลายคนคงเข้าใจว่าชื่อของธนาคารกรุงเทพในภาษาจีน น่าจะใช้ว่า "มั่นกู่อิ๋นหาง"
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2553)
盤谷銀行 (ผันกู่อิ๋นหาง) จังหวะก้าวที่รอมานานกว่าครึ่งศตวรรษ
การเปิดตัวอย่างเป็นทางการของธนาคารกรุงเทพ (ประเทศจีน) เมื่อปลายปีที่แล้วมิได้เป็นการรุกเข้าไปแบบแฟชั่น เหมือนกับที่นักลงทุนจากทั่วโลกนิยมทำกัน เนื่องจากมองว่า "ถนนทุกสายกำลังมุ่งสู่ประเทศจีน" แต่วิสัยทัศน์เกี่ยวกับเมืองจีนของคนในตระกูล "โสภณพนิช" นั้น ได้วางเอาไว้ไม่ต่ำกว่า 50 ปีมาแล้ว และเพิ่งจะเป็นรูปธรรมในวันนี้
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2553)