คนไทยตั้งรับอย่างไรเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยน
การประชุมวิชาการระดับชาติประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 2 วันที่ 18-19 สิงหาคม 2554 ที่เมืองทองธานี ภายใต้หัวเรื่อง “การเปลี่ยนกระบวนทัศน์สู่เศรษฐกิจสีเขียว ขององค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก (อบก.)” นอกจากแสดงถึงความพยายามในการหาแนวทางลดโลกร้อนและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก หัวข้อสัมมนาย่อยในงานที่น่าสนใจบางหัวข้อ ยังสะท้อนให้เห็นการวางแผนจัดการของประเทศไทย ที่เริ่มวางแผนงานอย่างเป็นระบบและมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลกว่าเดิมเกิดขึ้นด้วย แม้ว่าแผนงานที่ว่านั้นอาจจะยังไม่มีความชัดเจนเต็มร้อยก็ตามที
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2554)
"ความเข้มงวดกฎหมายสิ่งแวดล้อม 2535"
เมื่อ 4 มิถุนายนที่ผ่านมา ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมพุทธศักราช
2535 ทดแทนกฎหมายสิ่งแวดล้อมฉบับเดิมที่ใช้มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2518 กฎหมายสิ่งแวดล้อมฉบับนี้เป็นหนึ่งในกฎหมายนับร้อยฉบับที่ผ่านสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในสมัยอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีถือเป็นครั้งสำคัญในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมทางด้านกฎหมาย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
เพิ่มอำนาจ สวล. ไม่ใช่เรื่องง่าย
ขณะนี้ความเคลื่อนไหวในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหน่วยงาน "สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
- สวล." ให้มีบทบาทและอำนาจมากขึ้นกำลังมีการดำเนินการอย่างจริงจังหลังจากที่การถกเถียงทางด้านแนวความคิดได้ก่อตัวมานานแล้วพร้อม
ๆ กับการรุกขยายตัวของปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรงนั่นเอง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
รัฐมีนโยบาย แต่ยังไม่มีเครื่องมือ
ยุคนี้เป็นยุคสีเขียว ความตื่นตัวในเรื่องสิ่งแวดล้อมได้ตั้งดจทย์ใหญ่ให้กับภาคอุตสาหกรรมโดยไม่ตั้งใจ
ทว่าเป็นโจทย์ที่ไม่อาจละเลยเพราะตลอด 3 ทศวรรษแห่งการเดิบโตที่ผ่านมาของอุตสาหกรรมได้บั่นทอนความสมบูรณ์และงดงามของสภาพดิน
น้ำ อากาศลงอย่างขนานใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)