The Professional
การได้กิตติรัตน์ ณ ระนอง เข้ามาเป็นกรรมการและ
ผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์ฯ ถือเป็นชัยชนะครั้งแรก
ในประวัติศาสตร์ ที่คนจากภาคธุรกิจหลักทรัพย์
สามารถเข้ามามีบทบาทเป็นผู้บริหารสูงสุดของตลาดหุ้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2545)
ตลาดหุ้นไทยเข้าสู่การปฏิรูปทั้งระบบ
ตลาดหุ้นไทยเปิดศักราชใหม่ปี 2545 ด้วยภาพที่ดี เพราะนอกจากมูลค่าการ ซื้อขายจะกระโดดขึ้นไปถึงวันละเกือบ
2 หมื่นล้านบาทแล้ว ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ยังได้นำผู้บริหารของทุก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พากันไประดมสมองในการประชุมเชิงปฏิบัติการแผนแม่บท
พัฒนาตลาดทุนไทย ตั้งแต่วันหยุดสุดสัปดาห์แรกของปี
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2545)
6 ข้อผิดพลาด บริหารรามาทาวเวอร์
บริษัทรามาทาวเวอร์ถือว่าเป็นตัวอย่างปัญหาความล้มเหลวของบริษัทมหาชนรุ่นใหม่บริษัทแรกของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
หลังจากเข้า จดทะเบียนในปี 2518 เพียง 3 ปีตั้งแต่ปี 2521-2523 หุ้นรามา(RAMA)
ถือว่าเป็นหุ้นโดดเด่นที่ปันผลกำไรได้ถึงหุ้นละ 5 บาท
(บทความจาก อ่านวิกฤตเพื่อโอกาสใหม่. หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic ตุลาคม 2544)
ชวลิต ธนะชานันท์ ประธานตลาดหุ้นคนใหม่
การเปลี่ยนแปลงบุคลากร ซึ่งเป็นคีย์แมนสำคัญขององค์กรต่างๆ ในวงการตลาดเงินและตลาดทุน
ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง โดย หลังจากวันที่ 31 กรกฎาคมนี้เป็นต้นไป อมเรศ
ศิลาอ่อน จะหมดวาระ จากตำแหน่งประธานคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
และชวลิต ธนะชานันท์ จะเข้ามาดำรงตำแหน่งแทน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2544)
48,000 บทพิสูจน์ตลาดหลักทรัพย์
บางครั้งความฝันกับความจริง
อาจอยู่ใกล้หรือห่างไกลกันก็ได้ ดังกรณี
ตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่ตั้งเป็าหมายการเพิ่มขึ้น
ของทุนจดทะเบียนบริษัทในตลาดให้ได้ 48,000 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2544)
ประสาร ไตรรัตน์วรกุล เลขาธิการ ก.ล.ต.คนที่ 3
จากนายกสโมสรนิสิตจุฬาฯ ยุค 14 ตุลา มาเป็นเลขาธิการ ก.ล.ต. ที่มีอายุน้อยที่สุด ภารกิจเบื้องหน้าของประสาร ไตรรัตน์วรกุล คือการจัดระบบระเบียบที่เข้มงวดให้กับตลาดทุนไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
วิชรัตน์ วิจิตรวาทการ ผู้จัดการตลาดหุ้นคนใหม่
วิชรัตน์ วิจิตรวาทการ เป็นบุคคลลำดับที่ 8 ที่นั่งในตำแหน่งผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่เข้ามาแทนสิงห์
ตังทัตสวัสดิ์ ซึ่งลาออกไปกินเงินเดือนที่แบงคืกรุงไทย ในฐานะกรรมการผู้จัดการใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2542)
พิชิต อัคราทิตย์เราต้องมีดัชนีวัดความก้าวหน้าของตลาดทุน
"เมื่อตลาดหุ้นบ้านเรามีการพัฒนาไปได้ ณ ระดับหนึ่ง ก็ควรที่จะมีเครื่องบ่งชี้ให้ได้ว่าตอนนี้ภาวะดีหรือเลวอย่างไรในแง่ใดบ้าง ซึ่ง ก.ล.ต.กำลังศึกษาเรื่องนี้อยู่เหมือนกับธนาคารแห่งประเทศไทยจะมีดัชนีวัดตัวเลขภาวะเงินเฟ้อ กระทรวงพาณิชย์ มีตัวเลขการส่งออกตลาดหุ้นก็ควรมีเช่นกัน คาดว่าปีหน้าจะเห็นภาพที่ชัดเจน"
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2539)
สิงห์ ตังทัตสวัสดิ์ สิ่งแปลกปลอมในตลาดหุ้นไทย
ชุมพล ณ ลำเลียงกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปูนซิเมนต์ไทย เคยพูดถึงศิษย์เก่า สิงห์ ตังทัตสวัสดิ์ ที่โชคชะตาพัดพาให้มาเป็นผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่า ค่อนข้างเป็นห่วงลูกน้องคนนี้ เพราะต้องไปอยู่ในองค์กรที่ต้องสู้รบปรบมืออย่างตลาดหลักทรัพย์อาจวางตัวลำบาก
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2539)
หุ้น C เรื่องน่าช้ำใจ ของนักลงทุนหรือเจ้าของบริษัท ?
นับตั้งแต่ตลาดหลักทรัพย์แห่ประเทศไทย ได้เริ่มนำเกณฑ์การเพิกถอนหลักทรัพย์จดทะเบียนใหม่มาใช้ในทางปฏิบัติเมื่อวันที่
4 มี.ค. 2539 จนถึงปัจจุบันปรากฎว่า มีหุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนจำนวน 15 บริษัท ได้เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2539)