เงินที่ซื้อไม่ได้
ภาพเหล่าสล่าล้านนานุ่งโจงกระเบนสักลายทั่วตัวอันเป็นเอกลักษณ์ของชายที่เชื่อในความคงกระพันกำลังสาละวนในกองพระคลัง ตีทุบทั่ง ขึ้นรูปเงินเจียง ตลอดจนแบกหีบเงินที่ผลิตได้รอการนำออกใช้จ่ายเป็นภาพสะท้อนถึงวิถีชีวิตและเศรษฐกิจในชุมชนทางภาคเหนือ ซึ่งถูกติดตั้งไว้กลางโถงพิพิธภัณฑ์ของสำนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย จังหวัดเชียงใหม่
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2552)
1-2-3 ระวัง!! NPLs
ตามระเบียบใหม่ของธนาคารแห่งประเทศไทย สินเชื่อที่จะถูกจัดชั้นให้เป็นสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (non-performing loans : NPLs) คือสินเชื่อที่ไม่สามารถจ่ายดอกเบี้ยให้กับธนาคารพาณิชย์ผู้ให้กู้ได้ต่อเนื่องกันตั้งแต่ 3 งวดเป็นต้นไป
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2548)
3 เดือนแห่งความคลุมเครือ
26 ก.ค.2547 คณะกรรมการ KTB มีมติรับวิโรจน์ให้กลับมารับ ตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ต่ออีก 1 สมัย ในขณะที่กระแสข่าวเรื่อง NPLs ของธนาคารที่เพิ่มขึ้น 4.6 หมื่นล้านบาทจากลูกหนี้ 14 ราย กำลังกดดันราคาหุ้น KTB ในตลาด
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2547)
ละเลย?
ในที่สุดความคลุมเครือที่กดดันราคาหุ้นของธนาคารกรุงไทย (KTB) มากว่า 3 เดือน ก็ถูกเฉลยออกมาแล้วว่ามีสาเหตุมาจากความต้องการสกัดกั้นการกลับเข้ามารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ รอบ 2 ของวิโรจน์ นวลแข ที่พ้นจากตำแหน่งหลังหมดวาระไปเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2547)
การโอนเงินที่ไร้ขีดจำกัด
ความซับซ้อนของการทำธุรกิจที่มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องไปพร้อมกับเทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการชำระราคา
รูปแบบการจ่ายเงินใหม่ๆ ได้ถูกคิดค้นขึ้นมา จึงทำให้แบงก์ชาติจำเป็นต้องเข้ามามีบทบาทในเรื่องนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2546)
ภาวะกระทิง อานิสงส์ดอลลาร์อ่อน
ค่าเงินดอลลาร์อ่อน การเคลื่อนย้ายเงินทุนเริ่มคึกคักอีกครั้ง
และตลาดหุ้นเป็นเป้าหมายลำดับต้นๆ สำหรับการแสวงหาผลตอบแทน
ชดเชยความสูญเสียจากความไม่ไว้วางใจค่าเงินดอลลาร์
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
เมื่อแบงก์ชาติเป่านกหวีด เปิดเกมการแข่งขันบัตรเครดิต
การเปิดเสรีให้ธนาคารพาณิชย์สามารถพิจารณาออกบัตรเครดิตให้กับลูกค้า โดยไม่กำหนดรายได้ขั้นต่ำของผู้ขอทำบัตรเครดิต
ที่แบงก์ชาติประกาศออกมาเมื่อปลายเดือนเมษายน ได้ปลุกให้การแข่งขันในตลาดบัตรเครดิตมีความคึกคักขึ้นอย่างทันตาเห็น
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2545)
เมื่อแบงก์ชาติต้องรับบทหลักในการฟื้นเศรษฐกิจ
ตัวเลขงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2546 จำนวน 1 ล้านล้านบาท ที่มีการลดสัดส่วนการขาดดุลงบประมาณลงมาเหลือ
เพียง 175,000 ล้านบาท เมื่อเทียบกับงบประมาณรายจ่ายปี 2545 จำนวน 1.023
ล้านล้านบาท และขาดดุล 2 แสนล้านบาท นอกจาก จะบ่งบอกถึงความวิตกกังวลต่อตัวเลขหนี้สาธารณะของรัฐบาลแล้ว
ยังมีความหมายว่าต่อไปนี้ นโยบายการคลังจะไม่ใช่ยาหลักที่จะนำมาฉีดให้คนไข้ในการฟื้นเศรษฐกิจอีกต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2545)