บนเส้นทางของการปรับตัวเรื่องต้นทุน
หลังปี 2517 หรือหลังจากที่โลกเริ่มซึมซาบถึงฤทธิ์เดชของกลุ่มผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ่ซึ่งเรียกกันว่า
กลุ่มโอเปกนั้นนับว่าเป็นช่วงที่ผู้ผลิตในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์มีการจัดทำแผนปรับตัวในเรื่องการใช้พลังงานกันคึกคักมากเป็นพิเศษ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2528)
เทคโนโลยีและการจัดการสมัยใหม่
ในเดือนที่มีอากาศร้อนจัดเช่นเดือนเมษายน “ผู้จัดการ” ได้มีโอกาสหลบลมร้อนไปฟังการสัมมนาเรื่อง เทคโนโลยีและการจัดการสมัยใหม่ซึ่งจัดโดย สถาบัน เอ็ม.ไอ.พี. (Management Information People) ร่วมกบสถาบัน บี.เอ็ม.เอส. (Business Management Service) ที่ห้องวิภาวดี(เอ) โรงแรมไฮแอท เซ็นทรัล ลาดพร้าว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2527)
ณ ที่ตึกนี้จะเป็นศูนย์รวม
ณ ที่ตึกนี้จะเป็นศูนย์รวมตึกสำนักงานใหญ่ปูนซิเมนต์ไทยที่เพิ่งทำพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่
8 ธันวาคม 2526 ตามโครงการจะประกอบด้วยตึก 4 หลัง รวมทั้งตึกศูนย์คอมพิวเตอร์และตึกที่จอดรถ
โดยตั้งอยู่บนเนื้อที่กว่า 34 ไร่
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2527)
เบื้องหลังของท่าหลวง
มิสเตอร์คาร์สเตน ฟรีส เยสเปอร์เซ่น ร่วมงานกับบริษัทปูนซิเมนต์ไทย เป็นเวลายาวนานถึง
34 ปี และดำรงตำแหน่งผู้จัดการใหญ่อยู่นานถึง 24 ปี คือในระหว่างปี พ.ศ.2478
ถึง 2502
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2527)
ใหญ่เกินไปก็มีข้อเสีย
บางทีการที่เป็นบริษัทที่ใหญ่จนเกินไปนอกจากจะเริ่มอืดอาดและไม่คล่องตัวแล้วก็ยังเริ่มเสียเปรียบคู่ต่อสู้ในด้านการค้าอีกด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2527)
และแล้วจะถึงคราวใคร
เป็นธรรมดาที่บริษัทใหญ่อย่างปูนซิเมนต์ไทย เมื่อผู้จัดการใหญ่ใกล้จะต้องพ้นวาระไปก็ย่อมมีคนในใจว่า
ใครจะเข้ามาดำรงตำแหน่งแทน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2527)