ความเป็นมาของ Starbucks
ตำนานของสตาร์บัคส์เริ่มต้นเมื่อ 36 ปีก่อน จาก 3 สหายชาวซีแอตเทิล ประกอบด้วย Jerry Baldwin, Zev Siegel และ Gordon Bowker ด้วยความรักและสนใจในธุรกิจของกาแฟและชา
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2550)
การบริหารงานสไตล์ Jim DoNald
Jim Donald เริ่มต้นเช้าวันทำงาน เวลา 6 นาฬิกา ด้วยเหตุผลเพียงเหตุผลเดียวที่ว่า เป็นเวลาที่ดีที่สุดในการติดต่อผู้คน เขาเริ่มต้นวันด้วยการโทรศัพท์และฝากข้อความถึงผู้จัดการสาขาต่างๆ ประมาณวันละ 100 สาขาทั่วอเมริกา
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2550)
สตาร์บัคส์ องค์กรในฝันของหนุ่มสาวอเมริกัน
เหตุใดสตาร์บัคส์จึงติดอันดับฟอร์จูน 1 ใน 100 องค์กร ที่น่าร่วมงานที่สุดถึงหลายปีซ้อน และจากที่เคยถูกประท้วงจากกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กลับกลายเป็น 1 ใน 100 "พลเมืององค์กรที่ดีสุด" ของอเมริกา...เรื่องราวต่อไปนี้คงจะตอบคำถามนี้ได้ไม่มากก็น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2550)
Photo Essay...กว่าจะได้ยืนยิ้มอยู่หลังบาร์
จากพาร์ตเนอร์น้องใหม่ในวันแรก ที่บ้างไม่รู้จักสตาร์บัคส์มากไปกว่าร้านกาแฟ จนเป็น Passionate Partner หรือ "พาร์ตเนอร์เลือดสีเขียว" ที่พร้อมบริการลูกค้าอย่างอบอุ่นและเป็นมิตร ต้องผ่าน "การคั่ว-เข็น" หรือก็คือ การเทรน ซึ่งถือได้ว่าเป็นขั้นตอน "เปลี่ยนถ่ายเลือด (transfusion)" จากสีแดงเป็นสีเขียว
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2550)
Passionate Customers
สำหรับสตาร์บัคส์ ร้านกาแฟร้านนี้ไม่ได้มีแค่พาร์ตเนอร์ที่มี "เลือดสีเขียว" แต่ยังมีลูกค้าบางคนที่เมื่อกรีดเลือดออกมาจะเห็น "เลือดสีเขียว" ทั้งที่เจ้าตัวก็อาจจะไม่รู้เนื้อรู้ตัว
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2550)
Coffee Ambassador : Game for Passion
"story behind the cup" ถือเป็นเอกลักษณ์และเสน่ห์ที่เพิ่มมูลค่าให้กับกาแฟของสตาร์บัคส์ได้ไม่น้อย พาร์ตเนอร์ทุกคนจึงถูกคาดหวังให้เป็นผู้ที่ถ่ายทอดเรื่องราวนั้นไปสู่ลูกค้า และใช้เรื่องเล่าเป็น "สะพาน" เชื่อมสายสัมพันธ์ (human connection) ระยะยาวกับลูกค้า
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2550)
"Coffee Cop" แห่งสตาร์บัคส์เมืองไทย
เบื้องหน้าเป็นร้านสตาร์บัคส์ที่ดูอบอุ่นและปลอดภัย จนบางคนเอามือถือจองโต๊ะเพราะกลัวถูกขโมยโต๊ะนั่งมากกว่ากลัวถูกขโมยมือถือ และหลายคนเผลอหลับยาวโดยไม่กลัวว่าจะเกิดอันตราย
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2550)
"ม่วนใจ๋" สตาร์บัคส์ได้ใจ ชาวไร่ได้เงิน
"ม่วนใจ๋" นับเป็นความภาคภูมิใจของพนักงานสตาร์บัคส์ คอฟฟี่ ประเทศไทย ทุกคน และเป็นแรงบันดาลใจในการตั้งชื่อกาแฟนี้ว่า ม่วนใจ๋ เบลนด์ คำว่า "ม่วนใจ๋" เป็นภาษาคำเมือง ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นภาคเหนือที่ยังคงใช้กันอยู่ในปัจจุบัน มีความหมายว่า "ความสุขอย่างเต็มเปี่ยม"
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2550)
Behind the Premium Price
คงเป็นคำถามในใจของทุกคนว่า เพราะเหตุใดทำให้ STARBUCKS ร้านกาแฟโลโกสีเขียวจากอเมริกา ซึ่งขายกาแฟแก้วละกว่า 100 บาท
กลับมีลูกค้ามานั่งละเลียดฟองกาแฟด้วยความลุ่มหลงจนแน่นร้าน เป็น "ตัวเลือก" ที่ได้รับความนิยมสูงสุดท่ามกลางร้านกาแฟชื่ออื่นอีกหลายร้านที่รายรอบ...เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการค้นหาคำตอบ ลาเต้อุ่นๆ สักแก้วก็คงจะดีไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2550)
Birdy ห้ามจัดโปรโมชั่นเกินปีละ 1 ครั้ง
ตลาดกาแฟมีการแบ่งกลุ่มผู้เล่นที่ชัดเจนว่าใครจะทำตลาดตรงส่วนไหน หากเป็นกาแฟสดก็แข่งกันระหว่างแบรนด์นอกกับแบรนด์ไทย ระดับราคาก็เน้นลูกค้าระดับกลางขึ้นไป ส่วนกาแฟสำเร็จรูปก็มีรูปแบบที่ใกล้เคียงกัน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2549)