ซีเอสอาร์ 3 ขาของ AIA
สุขภาพ การศึกษา และชุมชน เป็น 3 ขาหลักในการทำซีเอสอาร์ของบริษัท เอไอเอ ประเทศไทย จำกัด เริ่มต้นพัฒนามาจากพฤติกรรมตัวแทนในการติดตามดูแลลูกค้า แล้วนำเสนอเป็นไอเดียสู่การช่วยเหลือสังคมที่กว้างขึ้นจนเป็น 3 รูปแบบกิจกรรมที่บริษัทเลือกดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2555)
เอไอเอหารายได้ใหม่
ประเด็นข่าวน้ำท่วมถือว่าเป็นหัวข้อไฮไลต์ทุกวันของสื่อสารมวลชนตลอดเกือบ 4 เดือนที่ผ่านมา แต่ก็ยังมีองค์กรบางแห่งพยายามที่จะบอกกิจกรรมในช่วงเวลาเดียวกัน ดังเช่น เอไอเอประกาศลงทุน 10,500 ล้านบาท เดินหน้าโครงการอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ในกรุงเทพฯ
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2554)
ผู้บริหาร AIA ซบ AACP
แม้เวลาจะล่วงเลยมาเป็นเวลา 11 เดือน หลังจากสหรัฐอเมริกาประสบวิกฤติการเงินอย่างหนักหน่วง จนทำให้บริษัท อเมริกัน อินเตอร์แนชชั่นแนล กรุ๊ป อิงค์ (AIG) แทบล้มทั้งยืน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2552)
เอไอจีและเอไอเอความเชื่อมั่นที่ซื้อไม่ได้
ดูเหมือนว่า เอไอจีจะเป็นสถาบันการเงินแรกของสหรัฐอเมริกาที่ธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) โดดเข้าไปอุ้มหลังจากที่เลห์แมน บราเธอร์ ประกาศล้มละลายเมื่อกลางเดือนกันยายนที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2551)
ซื้อกรมธรรม์สไตล์ผู้บริหาร AIA
แม้ลูกสาวจะเป็นคนสวย น่ารัก และฉลาด แต่โทมัส เจมส์ ไวท์ เคยอบรมสั่งสอนลูกสาวปัจจุบันอยู่ในวัย 21 ปีของเขาเสมอว่า คนเราไม่อาจพึ่งพาคนอื่นได้ แต่ต้องช่วยตัวเอง และลำพังแค่ความสวยนั้น ไม่ใช่หลักประกันความมั่นคงในชีวิต หากไม่รู้จักคิดวางแผนออมเงินตั้งแต่วันแรกที่เธอเรียนจบและมีงานทำ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2549)
Change The Way They Do Business
ในปีหน้า คนจะได้ยินคำว่า Financial Health Check Program มากขึ้นเป็นพิเศษ เพราะเหตุด้วยว่าโทมัส เจมส์ ไวท์ นายใหญ่แห่งค่ายเอไอเอประเทศไทย ตั้งใจจะทำโฆษณาประชาสัมพันธ์โครงการนี้ให้หนักขึ้น เพื่อให้คนเข้าใจถึงประโยชน์และตระหนักถึงความสำคัญในตัว Financial Health Check Program นี้
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2549)
AIA ในต่างจังหวัดถึงเวลาเก็บเกี่ยวรอบใหม่
หลังเน้นขายตัวผลิตภัณฑ์เพื่อการออมและการลงทุน ซึ่งต้องให้ผลตอบแทนราคาแพงแก่ผู้ซื้อมานานหลายปี ในปีนี้เอไอเอเลยต้องหันมาเน้นที่งานขายสินค้าเพื่อการคุ้มครองที่มีเบี้ยราคาต่ำ เหมาะกับคนต่างจังหวัด ซึ่งเอไอเอเพิ่มน้ำหนักสูงถึง 60%
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2549)
ยังต้องแบกความเสี่ยง
แม้คนไทยจะเล็งเห็นความสำคัญมากขึ้นในการซื้อกรมธรรม์ประกันชีวิตคุ้มครองความเสี่ยงจากอุบัติเหตุหรือภาวะเจ็บป่วยในยามที่ตนยังคงมีชีวิต และเพิ่มความมั่นคงในชีวิตให้แก่ผู้ที่อยู่ข้างหลังยามที่ตนอาจต้องจากไปก่อนเวลาอันควร
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2549)
เอไอเอกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
การรับรู้ถึงคุณประโยชน์ของการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพทั้งภาครัฐและเอกชน
โดยเฉพาะในส่วนของลูกค้าที่ถือเป็นหลักประกันสำคัญในยามออกจากงาน จากภาครัฐในฐานะที่เม็ดเงินดังกล่าวจะเป็นอีกแหล่งเงินทุนระยะยาวที่สำคัญ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
A.I.A. ยังเงียบกริบ ปล่อยลูกหม้อ-ตัวแทนทยอยหาย
เอ.ไอ.เอ. เข้ามาในประเทศไทยเมื่อ 58 ปีที่แล้ว ถือเป็นยักษ์ใหญ่ของวงการประกันชีวิตบ้านเรา ขณะนี้ยังคงครองส่วนแบ่งตลาดได้สูงสุดถึง 50% แต่การยกทีมลาออกของพนักงานในช่วงเวลาที่ผ่านมา เป็นสถานการณ์ที่ไม่น่าไว้วางใจนัก ซึ่งเป็นปัญหาที่ทางผู้บริหารต้องเร่งแก้ไข
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2539)