โรงพยาบาลกรุงเทพเจาะตลาดอเมริกาด้วยสเต็มเซลล์
โรงพยาบาลกรุงเทพเตรียมรุกตลาดคนไข้ต่างชาติอย่างเข้มข้นจริงจังยิ่งขึ้นในปีนี้ โดยใช้สเต็มเซลล์เป็นหัวหอกในการบุกตลาดอเมริกา พร้อมทั้งชิมลางการขยายออกสู่ต่างประเทศเป็นครั้งแรกที่กัมพูชา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2550)
Medical Hub of Asia เกมนี้ยังไม่จบ
หากวัดกันที่จำนวนผู้ป่วยต่างชาติที่เข้ามารักษา ปัจจุบันไทยได้กลายเป็นศูนย์กลางการแพทย์ในเอเชียไปเรียบร้อยแล้ว แต่แชมป์เก่าอย่างสิงคโปร์และอินเดียผู้มาใหม่ต่างก็จ้องชิงตลาดนี้อย่างดุเดือด มาตรการของภาครัฐและแรงผลักดันของเอกชนนับจากนี้จะเป็นตัวชี้ชะตาอนาคตอุตสาหกรรมดาวรุ่งของไทยกลุ่มนี้ว่าจะรุ่งโรจน์ต่อไปได้อีกหรือไม่
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2550)
Anywhere Anytime Email
อะไรคือนัยสำคัญของการตัดสินใจให้แพทย์ระดับผู้บริหารของโรงพยาบาลกรุงเทพ ต้องใช้พ็อกเก็ตพีซีแทนโทรศัพท์มือถือปกติดังเช่นก่อนหน้านี้ เป็นเพราะแค่ต้องการให้เขาเหล่านี้ดูดีและมีของไฮเทคใช้ตามสมัยเท่านั้น หรือเป็นเพราะว่าวันนี้ของสิ่งนี้จำเป็นที่ต้องมีเพื่อช่วยเหลือคนไข้... คุณคิดว่าอย่างไหนกันแน่ คือคำตอบ?
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2549)
Smile project
นอกจากวางตัวเองเป็นโรงพยาบาลที่มีความพร้อมในเรื่องทีมงานแพทย์ เครื่องมือที่ทันสมัยไฮเทค และสถานที่ที่หรูหราสวยงามสอดคล้องกับราคาค่ารักษาแล้ว สิ่งหนึ่งที่จำเป็นอย่างมากและผู้บริหารกำลังเร่งพัฒนาก็คือ การสร้างบริการที่ประทับใจ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2548)
Bangkok Heart Hospital
โรงพยาบาลหัวใจกรุงเทพวาง positioning เป็นโรงพยาบาลหัวใจชั้นนำของโลกที่มีความพร้อมในเรื่องทีมแพทย์ เครื่องมือที่ทันสมัย สถานที่โอ่อ่าสวยงาม ลงทุนในเรื่องการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง ต้นทุนทั้งหมดสะท้อนไปยังราคาค่ารักษาที่สูง เป็นโรงพยาบาลของคนรวยที่ทุกคนยอมรับ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2548)
Specialized at Bangkok Hospital
โรงพยาบาลกรุงเทพก่อตั้งมานานถึง 33 ปี เป็นโรงพยาบาลเอกชนแห่งแรก ที่เกิดจากวิสัยทัศน์ของนายแพทย์ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ เป็นธุรกิจอีกชิ้นหนึ่งที่เขาภูมิใจอย่างมาก
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2548)
The Leading Specialist Healthcare Hub
การทำธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนในรอบนี้ ไม่ได้ มีความหมายเพียงการเป็นโรงพยาบาลชั้นหนึ่งในเมืองไทยอย่างเดียวเท่านั้น
แต่รวมถึงการสร้างโอกาส เพื่อก้าวขึ้นเป็น "ศูนย์กลาง" การบริการด้านสุขภาพแห่งใหม่ของเอเชีย
แข่งกับประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆอีกด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
Specialized at Bangkok Hospital
ความเชี่ยวชาญในเรื่อง "ศูนย์โรคหัวใจ" และ "ศูนย์สมอง" เป็น "จุดขาย" ที่ชัดเจนที่สุดของโรงพยาบาลกรุงเทพ และเป็น "จุดแข็ง" ที่ถูกนำมาเสริมให้โดดเด่นยิ่งขึ้นด้วยวิธีการทางด้าน "การตลาด" พร้อมๆ กับการปูพรมสร้าง Brand Management ด้วยการขยายเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
พิเศษสุดกับบัตร Privilege
เมื่อก้าวออกจากประตูลิฟต์ ชั้น 15 สิ่งแรกที่ปรากฏต่อสายตาและความรู้สึกก็คือความเงียบสงบในบรรยากาศที่ออกแบบตกแต่งแสนหรูหราราวกับโรงแรม 5 ดาว นอกจากเจ้าหน้าที่ที่เคาน์เตอร์แล้ว แทบจะไม่เห็นผู้คนเดินผ่านไปมา
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
Japan Medical
คำทักทายเป็นภาษาญี่ปุ่นดังขึ้นอย่างนิ่มนวล จากพนักงานต้อนรับในคลินิกญี่ปุ่น ก่อนที่จะเดินนำคนไข้ไปลงทะเบียนในห้องนั้น ใครที่ผ่านไปมาบนชั้น 2 ของโรงพยาบาลกรุงเทพอาจจะแปลกใจ เพราะเมื่อมองเข้าไปในห้องนั้นจะเห็นบรรยากาศที่แตกต่างออกไป เพราะนอกจากเจ้าหน้าที่แล้ว คนไข้ที่นั่งรออยู่ทั้งหญิงชายและเด็ก ล้วนแล้วแต่เป็นคนญี่ปุ่นทั้งสิ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)