"ณรงค์ มหานนท์ เดินสายหลังเกษียณ"
สมัยก่อนผู้ยิ่งใหญ่วงการเมืองมักจะมาดำรงตำแหน่งตามบริษัทใหญ่ ๆ อย่างประภาส
จารุเสถียร มานั่งเป็นประธานกรรมการธนาคารกรุงเทพฯ หรือบรรดาจอมพลทั้งหลายมานั่งเป็นอธิการบดีหลาย
ๆ มหาวิทยาลัย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
อาณาจักรไทยรุ่งเรืองเมื่อเถ้าแก่หลิ่นยังอยู่..เจ้ายุทธจักรอุตสาหกรรมน้ำตาลย่อมยั่งยืน
ไม่เคยมีอะไรใหม่เลย สำหรับกลุ่มโรงงานน้ำตาลใหม่ไทยรุ่งเรือง ภายใต้การนำของสุรีย์
อัษฎาธร ผู้ทำตัวเหมือนกระแสน้ำที่กลายเป็นคลื่น ไหลขึ้นไหลลงอย่างนี้ชั่วนาตาปี
บางครั้งอยู่ยอดคลื่น บางครั้งลงต่ำเป็นคลื่นเล็ก จริงหรือ?? ที่บางคนบอกว่า
ไทยรุ่งเรืองคืออาณาจักรหรือมรดกในอุตสาหกรรมน้ำตาล หรือที่เรียกว่า "แมวเก้าชีวิต"!?
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
ไทยรุ่ง ตำนานเสื่อผืนหมอนใบที่เขียนขึ้นโดย "เถ้าแก่หลิ่น"
ขณะนั้นกลุ่มไทยรุ่งเรืองมีโรงงานน้ำตาลทั้งหมด 11 โรง มีกำลังหีบอ้อยรวมกันประมาณ 70,000 ตันต่อวัน ถ้าเปรียบเทียบกับจำนวนโรงงานน้ำตาลทั้งหมดที่ประเทศไทยมีอยู่ คือ 42 โรงแล้ว (ขณะนี้มีเพิ่มขึ้นเป็น 44 โรง) และแม้ว่าปัจจุบันกลุ่มไทยรุ่งเรืองจะเหลือโรงงานน้ำตาลอยู่เพียง 9 โรง อันเป็นผลจากเมื่อปลายปี 2525 ไทยรุ่งเรืองดำเนินมาตรการตอบโต้นโยบาย 70/30 ด้วยการประกาศขายโรงงานน้ำตาลของตนทั้งหมด และกลุ่มบ้านโป่งของ วิบูลย์ ผานิตวงศ์ รับซื้อไป 2โรง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
"กำเนิดกลุ่มโรงงานน้ำตาลบ้านโป่ง"
"บ้านโป่ง" เป็นชื่ออำเภอหนึ่งของจังหวัดราชบุรี บ้านเกิดของพี่น้องตระกูล "ผาณิตพิเชฐวงศ์" และเป็นที่มาของชื่อ "บริษัทโรงงานน้ำตาลบ้านโป่ง" ที่เปรียบเสมือนบริษัทแม่ของโรงงานน้ำตาลในเครืออีก 5 โรง หรือที่นิยมเรียกกันว่ากลุ่มบ้านโป่ง ใน พ.ศ. นี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)