Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
people
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ10  
ผู้จัดการรายสัปดาห์1  
Total 10  

Listed Company
Manager Lists
 
People > ดิลก มหาดำรงค์กุล


นิตยสารผู้จัดการ (1 - 10 of 10 items)
เซ็นทรัล ซิตี้ เมื่อถึงครา 4 เสือจะอยู่ถ้ำเดียวกัน เคยมีคำพูดที่ว่า "เสือสองตัวจะอยู่ถ้ำเดียวกันไม่ได้" แต่ในวันนี้ ที่โรงแรมดุสิตธานี เสือในวงการธุรกิจของไทยอันมี เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ (กลุ่มศรีวิกรม์), ดิลก มหาดำรงค์กุล (กลุ่มทศพล), วันชัย จิราธิวัฒน์ (กลุ่มเซ็นทรัล), และสุขุม นวพันธุ์ (กลุ่มนวธานี)(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2533)
ประชุมผู้จัดการ-ฉลองเงินฝาก 20,000 ล้านบาท งานปลุกเร้าที่แสนกร่อยของแบงก์นครหลวงไทย สำหรับผู้ที่สนใจติดตามข่าวของธนาคารนครหลวงไทยมาโดยตลอด ก็ต้องให้ความสนใจต่อการประชุมผู้จัดการสาขาทั่วประเทศของธนาคารแห่งนี้ เมื่อวันที่ 8 มิถุนายนที่ผ่านมาเป็นพิเศษ(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2528)
คำปราศรัยเชิงปลุกเร้าของ "ดิลก มหาดำรงค์กุล" ที่ผมจะพูดนี่ตามสไตล์ของคุณดิลก (เสียงบรรดาผู้จัดการสาขาหัวเราะหึๆ)..อ้า..ท่านประธาน..ท่านกรรมการ และท่านผู้บริหารทุกๆ ท่าน กระผมในนามของคณะกรรมการนะครับ ก็รู้สึกมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งนะครับ อ้า..ที่ท่านผู้จัดการสาขาที่มีผลงานดีเด่นและได้รับรางวัลอันทรงมีเกียรติในวันนี้นะครับ(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2528)
คนอะไรก็ไม่รู้ บุญหล่นทับ 152 ล้านบาท ! แล้วใครจะรับผิดชอบ !!! วีระ เกียรติแสงศิลป์ กู้เงินธนาคารนครหลวง สาขาตรัง เป็นเงิน 152 ล้านบาท โดยมีมนัส ธรรมมารักษ์ ซึ่งเป็นตัวแทนธนาคารสาขาตรังเป็นรับรอง(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
ข้าวมันไก่มื้อนั้นเมื่อกำจรเปลี่ยนน้ำเสียง บุญชูแสดงความจำนงขอลาออกจากตำแหน่งประธานกรรมการธนาคาร พร้อมกับชี้แจงอุปสรรคปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในแบงก์นครหลวงไทยอันสืบเนื่องมาจากการบริหารของกลุ่มมหาดำรงค์กุล อาทิ ประมาทเลินเล่อทำให้หนี้สินที่ควรจะได้รับต้องสูญเสียไปจำนวนมาก หนี้สินที่อดีตผู้จัดการสาขา(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
เราได้เรียนรู้อะไรบ้างในกรณีธนาคารนครหลวงไทย? กรณีธนาคารนครหลวงไทยมีตัวละครอยู่ 3 ตัวที่สามารถให้บทเรียนแก่เราได้ดีมาก ทั้งในแง่ของการบริหารและในหลักสัจธรรมแห่งชีวิต ตัวละครทั้งสามคือ บุญชู โรจนเสถียร มหาดำรงค์กุล กำจร สถิรกุล และธนาคารแห่งประเทศไทย(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
“ไอ้ตา-มึงไม่เคยทำอะไรให้กูสบายใจเลย...” “ไอ้ตา (ชื่อภาษาไหหลำของชัยโรจน์แปลว่าที่สาม) มึงไม่เห็นเคยทำอะไรให้กูสบายใจสักอย่าง มึงมีแต่หาเรื่องให้กูทั้งนั้น กูเจ็บใจ วันหนึ่งๆ กูนอนไม่หลับก็เพราะมึง มึงมาอยู่แบงก์อย่างนี้ ทำกับกูอย่างนี้ กูไม่อยากได้แบงก์นี้ แต่มึงก็จะเอา จะเอา มึงไม่เคยทำอะไรสักอย่างให้กูสบายใจ”(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
2528 ปีแห่งการแตกหัก พอประดาบก็เลือดเดือด ตลอดระยะเวลาของปี 2527 ความขัดแย้งในด้านวิธีการทำงาน ตลอดจนหลักการและความถูกต้องระหว่างบุญชู โรจนเสถียร กับกลุ่มมหาดำรงค์กุลมีมาตลอด หากแต่มหาดำรงค์กุลมักจะเป็นผู้ให้ข่าวกับสื่อมวลชนอยู่เสมอว่าทุกฝ่ายยังชื่นมื่นกันดี การให้ข่าวนั้นดิลก มหาดำรงค์กุล มักจะเป็นคนให้ข่าว และบางครั้งการให้สัมภาษณ์เมื่อปี 2527 เมื่อมาอ่านดูอีกครั้งในวันนี้ก็สามารถพบได้ว่า ดิลกพูดจาขัดแย้งกับสิ่งที่ตัวเองเคยพูดเอาไว้เมื่อปีที่แล้วอย่างขาวเป็นดำ(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
คนแซ่ก่าวจากไหหลำ มาเป็นมหาดำรงค์กุลในสยาม มหาดำรงค์กุลเป็นตระกูลที่มีสมาชิกเด่นๆ เป็นที่รู้จักกันทั่วไปอยู่ 3 คน คือ พี่ใหญ่-ดิเรก พี่กลาง-ดิลก และน้องเล็ก-ชัยโรจน์ ดิเรก มหาดำรงค์กุล คือ ก่าว โล พก(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
บรรยากาศวันนั้น คุณเรณูยอมสละ “ตุ๊กตาทอง” คนที่มารอรับบุญชู ที่ห้องวีไอพี ของสนามบินดอนเมืองวันนั้น ถ้าไม่รวมนักข่าวและช่างภาพราว 40 คน แล้ว ก็ต้องนับว่าออกจะโหรงเหรงผิดตาอยู่ไม่น้อย(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2526)

Page: 1





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us