"ทางออกที่ดีที่สุดคือให้ไทยและกัมพูชาขึ้นทะเบียนมรดกร่วมกัน"
ท่ามกลางความร้อนแรงของกรณี "ปราสาทพระวิหาร" ทัศนะของนักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิหลายคนถูกนำเสนอเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่สังคม ศ.ดร.อดุล วิเชียรเจริญ ในฐานะอดีตประธานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก พร้อมด้วยประสบการณ์ทำงานนานกว่าสิบปีในคณะกรรมการดังกล่าว ผู้อาวุโสท่านนี้จึงเป็น "กุญแจสำคัญ" ที่ช่วยไขข้อข้องใจให้สังคม และในคำตอบเหล่านั้นยังแฝงทางออกหรือทางเลือกให้กับคนไทยอีกด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2551)
Why World Heritage มรดกโลก.....มรดกใคร?
การประกาศให้ ปราสาทพระวิหาร ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกลำดับที่ 1224 ก่อให้เกิดวิวาทะในสังคมไทยอย่างกว้างขวาง ทั้งในมิติของเงื่อนงำการเจรจาแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ ซึ่งส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในช่วงที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2551)
Behind the Scenes
"...ผู้ที่อาจแลเห็นสิ่งเล็กน้อยได้ เรียกว่ามีสายตาแหลมคม ผู้ที่รักษาความอ่อนโยนไว้ได้ เรียกว่ามีความแข็งแกร่ง ใช้แสงสว่างภายนอกสาดส่องเข้าไปจนถึงความเห็นแจ้งภายใน นี่จึงช่วยให้พ้นจากหายนะ..."
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2551)
"สไตรค์" สไตล์อินเดีย
สไตรค์หรือการหยุดงานประท้วงนั้นมีอยู่ในทุกประเทศ แต่การหยุดงานที่เรียกว่า "General Strike" ที่พร้อมใจกัน (สมัครใจหรือไม่อีกเรื่อง) ทุกภาคส่วนองค์กร หยุดปิด ละงาน จนร้านรวงถนนหนทางเงียบโล่งเสมือนเมืองมีปฏิวัติรัฐประหาร คงไม่มีประเทศใดทำได้จริงจัง หนักแน่น บ่อย แต่สัมฤทธิ์ผลน้อยเท่าอินเดีย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2551)
Binayak Sen หมอนักสิทธิมนุษยชนในจองจำ
"สุขภาพที่ดีเป็นสิทธิมนุษยชน" ดร.บินายัค เซ็น ตระหนักถึงหลักการและรากของปัญหานี้ร่วมทศวรรษก่อนที่องค์การอนามัยโลกจะประกาศขึ้นเป็นปฏิญญาสากล กว่า 30 ปีที่หมอบินายัคอุทิศตนเพื่อคนยากไร้ในรัฐชัตติสการ์หพื้นที่สีแดงของอินเดีย จนได้ชื่อว่าเป็นหมอของคนยาก เป็นหมอนักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2551)
"คุณปิด ลูกเปลี่ยน" เปิดชีวิต ปิดทีวี เพื่อลูกน้อย
ตั้งแต่โลกนี้มีโทรทัศน์ ดูเหมือนว่าทีวีจะกลายเป็นเพื่อนซี้กับคนเรามาทุกยุคสมัยโดยเฉพาะกับเด็ก บางบ้านปล่อยให้ทีวีทำหน้าที่ราว "พี่เลี้ยงเด็ก" โดยลืมไปว่า เบื้องหลังกล่องสี่เหลี่ยมที่เป็นดังหน้าต่างบานแรกที่นำเด็กๆ สู่โลกกว้าง ภายในยังเต็มไปด้วยอวิชชา อคติ และกิเลส ซึ่งลูกน้อยไม่ควรที่จะต้องเผชิญกับ "ปิศาจร้าย" เหล่านี้ตามลำพัง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2551)
ฟื้นคูปองปันส่วนอาหาร
การทำให้อาหารราคาถูกลงไม่ใช่สิ่งที่เป็นไปไม่ได้ ใน Rangpur หนึ่งในเขตยากจนที่สุดของบังกลาเทศ ราคาข้าว ข้าวสาลี น้ำมันปรุงอาหาร และธัญพืชต่างๆ แพงขึ้นสองเท่าตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา 40% ของชาวบังกลาเทศมีชีวิตอยู่ด้วยรายได้ที่ต่ำกว่า 1 ดอลลาร์ต่อวัน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2551)
สึนามิเงียบ
ราคาอาหารที่แพงลิบลิ่วกำลังสร้างความอดอยากยากแค้นและความปั่นป่วนไปทั่วโลก และจำเป็นต้องแก้ไขอย่างถึงราก วิกฤติความอดอยากในอดีตมักเกิดจากการเก็บเกี่ยวพืชผลตกต่ำเนื่องจากสงครามหรือความรุนแรง และมักจำกัดอยู่เพียงที่ใดที่หนึ่ง โดยจะส่งผลกระทบหนักหน่วงต่อคนที่ยากจนที่สุดเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2551)
โฉมหน้าใหม่ของความหิวโหย
การขาดแคลนอาหารที่เกิดขึ้นทั่วโลก ทำให้ทุกคนประหลาดใจ คำถามคือ เราควรจะทำอย่างไรต่อไป พ่อค้าข้าวตลาดชานเมืองในประเทศโกตดิวัวร์ ชี้ให้ดูชามที่บรรจุเต็มไปด้วยข้าวหักที่มาจากไทย ซึ่งเขาขายในราคา 400 ฟรังค์ CFA (ประมาณ 1 ดอลลาร์) ต่อกิโลกรัม ว่าเป็นข้าวที่ขายดีมากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2551)