"ภาพพจน์กับความจริง"
จากบทเรียนในอดีตที่ผ่านมาพอจะชี้ให้เห็นว่าภาพยนตร์สะท้องปัญหาสังคมไทยมักจะถูกตีตราว่า
"ทำลายภาพพจน์ประเทศชาติ" เสมอ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
ที่อยู่ใหม่สลัมข้างศูนย์ประชุมฯ
พายุลูกย่อมฯ ที่ตั้งเค้าเอากับรัฐบาลพลันสงบไปได้ด้วย "น้ำใจ"
ของนายกฯ อานันท์ ปันยารชุน ผู้ประกาศชัดออกมาว่า "สลัมนั้นไม่ใช่สิ่งน่าอาย"
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
วันคืนเก่า ๆ ข้างเตาผิงถ่าน
สังคมที่เปลี่ยนแปลงไปย่อมมีผลทำให้วิถีการดำเนินชีวิตของคนในสังคมเปลี่ยนแปลงตามไปด้วยอย่างนิสัยชาวญี่ปุ่นรุ่นก่อนที่ชอบใช้เตาผิงถ่านเป็นที่นั่งชุมนุม เพื่อพูดคุยเรื่องราวต่าง ๆ สู่กันฟัง ซึ่งข้อปฏิบัตินี้ดูจะเป็นความทรงจำที่ลางเลือนไปแล้ว สำหรับคนรุ่นใหม่ในสังคมญี่ปุ่นบางกลุ่ม
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
เก่งกาจ จงใจพระ กับศาสตร์ที่ฮาร์วาร์ดคิดไม่ถึง
ผู้ชายวัย 53 ปี คนนี้ เคยมีชื่อเสียงโด่งดังอยู่ในวงการบันเทิง เมื่อยี่สิบปีที่แล้ว ในฐานะ นักจัดรายการวิทยุ โฆษก นักแต่งเพลง เจ้าของวงดนตรี และในความเป็นคู่ชีวิตของนักร้องลูกทุ่ง บุปผา สายชล ผู้ล่วงลับไปแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
"พลิกปูมเศรษฐีใหม่กับความเถื่อนBEHIND THE MAKING OF HAT YAI"
อภิสิทธิ์ที่พวกนี้มีอยู่มากในมือโดยที่ราษฎรเต็มขั้นเป็นผู้จ่ายผ่านความพิกลพิการของกฎเกณฑ์ทางสังคมในราคาแพงลิบลิ่วนั้น
มันก็คือพื้นฐานของกฎหมาย "เถื่อน" ที่ทำให้คนที่ทำธุรกิจเถื่อน
ๆ ในเมืองหาดใหญ่เปล่งรัศมีอย่างน่าครั่นคร้าม พวกนี้อาจกระตุ้นความรุ่งเรืองมาสู่หาดใหญ่
แต่เงาของปีศาจร้ายของพวกนี้นั้นใครจะรับประกันถึงความไม่มีอันตรายต่อสังคม!!!
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
เชียงใหม่กึ่งศตวรรษ กงเกวียนกำเกวียน!!
เชียงใหม่กำลังจะมีอายุครบ 700 ปี ความเป็นศูนย์กลางธุรกิจภาคเหนือกำลังถูกควานหาความหมายอย่างคร่ำเคร่ง
จากเส้นทางเดินทางในประวัติศาสตร์ ที่ระบบเศรษฐกิจของเชียงใหม่ถูกครอบงำด้วยอิทธิพลต่างๆ
จากภายนอกนั้น ในอนาคตหลัง 700 ปีกลุ่มธุรกิจในเชียงใหม่ทั้งหลายจะสามารถสร้างโครงสร้างธุรกิจใหม่ที่เติบโต
และมีความเป็น "ไท" ในตัวเองอย่างแท้จริงหรือไม่!?"
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2530)
ถนนสีลม-วอลสตรีท ของกรุงเทพฯ ลำบากกันวันนี้เพื่อไปสบายกันวันหน้า
การจราจรในกรุงเทพฯ บ้านเรา เมื่อ 3-4 ปีที่แล้วนั้น เคยมีเสียงบ่นโดยทั่วไปว่า
"โหดเกือบที่สุดในโลก" แต่คำบ่นนี้ก็คงไม่ถูกต้องเสียแล้ว เพราะเหตุว่าในขณะนั้น
กรุงเทพฯ มียวดยานที่แล่นกันขวักไขว่หรือไม่จอดติดกันเป็นแพอยู่เพียงประมาณ
8 แสนคัน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2528)
สีลมแห่งความหลังของ ดร.ทองธัช หงส์ลดารมภ์
ดร.ทองธัช หงส์ลดารมภ์ ทำงานอยู่ที่การไฟฟ้านครหลวง หน่วยงานตัวตั้งตัวตีในการขุดถนนสีลมคราวนี้ ถนนสีลมเป็นบ้านเกิดของ ดร.ทองธัช หงส์ลดารมภ์ เคยวิ่งเล่น เคยมองเห็นความร่มรื่น และก็ได้เห็น
การเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2528)