ครูศุภวัฒน์...เหยื่อหรือลูกค้าที่ดี?
ศุภวัฒน์ หิรัญกาญจน์ ผู้ชายธรรมดา ๆ คนหนึ่ง อายุ 31 ปี ชีวิตครอบครัวในเยาว์วัยเรียบง่าย
แต่ไม่ราบรื่นนัก ศุภวัฒน์เป็นลูกชายคนโตของพ่อแม่ มีน้องอีก … คน ระหว่างเรียน
มศว. ประสานมิตร ก็สอบเข้ารับราชการเป็นครูอยู่โรงเรียนวัดยางสุทธาราม สังกัดกรุงเทพมหานคร
รับราชการมาตลอดระยะเวลา 11 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)
โกดักอีกแล้ว คราวนี้ขมขื่นกว่ากรณี "สุวัฒน์" หลายเท่า
หากสถานประกอบการสักแห่งหนึ่งมีความจำเป็น เพราะแรงบีบรัดทางธุรกิจให้ต้องดำเนินนโยบายลดค่าใช้จ่ายด้วยการบอกเลิกจ้างพนักงานสักจำนวนหนึ่ง
เพื่อรักษาส่วนใหญ่ไว้นั้น แม้จะเป็นปัญหาที่ท้าทายมนุษยธรรมอยู่บ้าง แต่ถ้าทำอย่างเปี่ยมด้วยคุณธรรมและความถูกต้องอย่างเสมอภาคแล้วก็เป็นเรื่องที่น่าเห็นใจ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2529)
โกดักมีเรื่องอีก ส่วนสุวัฒน์ VS โกดักก็ยังไม่จบง่าย ๆ
เมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2529 ที่ผ่านมานี้ บริษัทอีสต์แมนโกดัก (EASTMAN KODAK
CO.) แห่งเมืองโรเชสเตอร์ มลรัฐนิวยอร์คประกาศว่าภายในสิ้นปีนี้บริษัทจะปลดคนงานออกประมาณ
12,900 คน หรือ 10% ของคนงานทั้งหมดในเครือโกดักทั่วโลก
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2529)
บริษัทโกดัก (ประเทศไทย) จำเลยที่ 1
ชื่อโกดักนั้นเป็นชื่อที่เดินคู่ไปกับผลิตภัณฑ์ด้านการถ่ายภาพ ครั้งใดที่มีการพูดถึงโกดัก
คนทั่วไปก็มักจะนึกถึงกล้องถ่ายรูปและฟิล์มเป็นหลักไม่ค่อยมีใครทราบว่าจริงๆ
แล้ว บริษัทยักษ์ใหญ่อย่างอีสต์แมนโกดัก คอร์ปอเรชั่น นั้นยังมีสินค้านอกเหนือจากนี้อีกหลายชนิด
ซึ่งบางอย่างก็เกี่ยวข้องกับการถ่ายภาพและบางอย่างก็ไม่เกี่ยวกันเลย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2529)
กว่าหนึ่งปีที่สุวัฒน์อยู่อย่างโดดเดี่ยวและขมขื่น
สุวัฒน์ แดงพิบูลย์สกุล ดำเนินคดีฟ้องร้องบริษัทโกดัก (ประเทศไทย) และฝ่ายบริหารรวม
4 รายเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2528 เป็นคดีแรกจากนั้นเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์
2529 ก็ยื่นฟ้องคดีอาญาข้อหาปลอมแปลงเอกสารเป็นคดีที่สองซึ่งก็เป็นผลสืบเนื่องจากคดีแรก
และวันที่ 28 มีนาคม 2529 ทางโกดัก (ประเทศไทย) มีหนังสือเลิกจ้างสุวัฒน์
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2529)
เสี้ยวหนึ่งของทุรชนต่างชาติที่ถูกจับในไทย
ในบรรดาทุรชนต่างชาติที่เข้ามาก่อคดีปลอมแปลงเอกสารและฉ้อโกง โดยอาศัยหนังสือเดินทางปลอมประกอบกับเช็คเดินทางหรือเครดิตการ์ดที่ขโมยมา
มีอยู่หลายรายที่ทางเจ้าหน้าที่จัดอยู่ในจำพวก "ไอ้ตัวแสบ"
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2528)
ชม้อย ทิพย์โส วีรสตรีหรือซาตานกันแน่!
เรื่องของชม้อย ทิพย์โส มิใช่เรื่องของการฉ้อโกงหรือผิดพระราชกำหนดการเล่นแชร์ธรรมดาสามัญ
หากมีผลสะท้อนที่ลึกลงไปให้เห็นถึงความฟอนเฟะของสังคมที่กำลังขาดคุณธรรมอย่างมากๆ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2528)