"สิทธิบัตรยาไม่ควรพิจารณาบนกรอบของการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์"
ท่านผู้อ่านที่ติดตามข่าวคราวความเคลื่อนไหวทางด้านเศรษฐกิจในหน้าหนังสือพิมพ์คงเคยได้ ยินเรื่องราวเกี่ยวกับประเด็นปัญหาข้อถกเถียงเกี่ยวกับสิทธิบัตรยาในประเทศอยู่เนือง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะหลังประมาณ 2-3 ปีที่ผ่านมา มีการพูดถึงประเด็นปัญหาในเรื่องนี้บ่อยครั้งมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งได้มีการนำเรื่องสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีศุลกากรหรือที่เรียกว่า G.S.P.ซึ่งประเทศไทยได้รับสิทธิประโยชน์
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
ชัยภัทร กำจัดดัสกร นักกฎหมายการเงิน
ธุรกิจการเงินระหว่างประเทศพัฒนามากขึ้นเท่าใด ความจำเป็นที่จะต้องเรียนรู้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเงินย่อมมีมากขึ้นเท่านั้น สำหรับเมืองไทย มีนักกฎหมายที่พอจะเรียกว่าเชี่ยวชาญทางด้านนี้โดยเฉพาะนั้นน้อยมาก ในจำนวนนั้นน่าจะนับเอา ชัยภัทร กำจัดดัสกร เข้าไปด้วยคนหนึ่งแม้ขณะนี้เขาเพิ่งจะมีอายุเพียง 30 ปีเท่านั้นเองก็ตาม
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
กฎหมายระหว่างประเทศในการใช้อาวุธยามสงคราม
ทุกวันนี้ข่าวสงครามอ่าวเปอร์เซียยังเป็นที่น่าสนใจ เพราะความยืดเยื้อของสถานการณ์
แต่สิ่งที่ผู้คนยังจับตามองอยู่ก็คือ เมื่อใดจะมีการใช้อาวุธเคมี อาวุธเชื้อโรคและอาวุธนิวเคลียร์
ซึ่งสิ่งเหล่านี้ย่อมจะทำให้สถานการณ์เปลี่ยนแปลงตึงเครียดขึ้นอย่างแน่นอน
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)
การบังคับใช้กฏหมายในการแก้ปัญหามลพิษ
ทุกวันนี้จะแลไปทางไหน ก็มีแต่คนกล่าวขานถึงสิ่งแวดล้อมกันขรมไปหมด โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อมที่ใกล้ พบเห็นได้อยู่บ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเป็นอากาศ ต้นไม้ หรือน้ำในแม่น้ำลำคลอง ซึ่งปัจจัยเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมนี้เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอย่างไม่มีการคาดคิดมาก่อน และกลายเป็นปัญหาของประเทศที่กำลังพัฒนาไปเป็นประเทศอุตสาหกรรมหนักสูงขึ้น หรือการส่งออกอุตสากรรมไปยังประเทศที่ล้าหลัง เพื่อรักษาวงจรอุตสาหกรรมของโลก
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
อคิน รุจิขจรเดช ชนะคดีอาญา
เรื่องที่เป็นข่าวอื้อฉาว ขึ้นมาใน ช่วงหนึ่ง ๆ กว่าจะพิสูจน์อะไรออกมาได้ว่าความจริงเป็นอย่างไร ก็ต้องผ่านกระบวนการกลั่นกรองข้อเท็จจริงด้วยเวลาอันยาวนาน หลายปี ในขณะที่ความสนใจของผู้คน จืดจางไปกับกาลเวลา ยากที่จะเรียกร้องให้ความจริง ที่เป็นจริงกลับมาปรากฏได้อย่างทั่วถึงในปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
เครื่องบินตกตายหมู่ รับผิดกฏหมายแพ่งพาณิชย์
ในโลกของศตวรรษที่ 20 สิ่งที่เรารู้สึกได้เป็นการทั่วไป ก็คือ การเปลี่ยนแปลงที่มีลักษณะ
" ทั่วโลก" (Global) ไม่ว่าด้านเศรษฐกิจ การค้า หรือการเมือง ซึ่งทำให้การปิดกั้นทางการค้าและเศรษฐกิจย่อมทำได้ยาก
ขึ้นตามลำดับ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2534)
สงวน ลิ่วมโนมนต์ มือกฎหมายของนายกฯ
ทนายความที่หากินกับพ่อค้าคนจีนในเมืองไทยมีไม่น้อยในปัจจุบัน แต่ที่มีชื่อเสียงกันในวงกว้างและร่ำรวยในระดับแนวหน้านอกจากสุนทร
โภคาชัยพัฒน์ แล้วเห็นจะต้องไม่ลืมนับ สงวน ลิ่วมโนมนต์ คนนี้เข้าไปด้วยอีกคน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2533)
7 ข้อจำกัดในการโอนหุ้น
ปัจจุบันกิจการของตลาดหลักทรัพย์กำลังเป็นที่กล่าวขวัญอย่างกว้างขวาง บริษัทหลากหลายธุรกิจพากันให้ความสนใจต่อตลาดหลักทรัพย์
ด้วยเหตุที่เป็นแหล่งเงินทุนราคาถูก
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2533)
"ลดภาษีนำเข้าเครื่องจักร 5% เป็นการหนุนนักลงทุนมากขึ้น แต่มีข้อเสียหลายอย่าง"
เมื่อรัฐบาลลดภาษีนำเข้าเครื่องจักรลงเหลือเพียง 5% จะทำให้บริษัทที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากบีโอไอน้อยลง
เพราะที่ผ่านมาถ้าได้บีโอไอจะได้ยกเว้นภาษีหรือเสียภาษีนำเข้าเครื่องจักรเพียงครึ่งเดียวแล้วแต่ละกรณี
ขณะที่บริษัทไม่ได้รับการส่งเสริม จะต้องเสียภาษีนำเข้าเครื่องจักรเต็มอัตรา
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2533)
โปรแกรมกฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศสมัยใหม่
นักกฎหมายไทยเริ่มตื่นตัวมากขึ้นต่อบทบาทของตัวเองกับสังคมธุรกิจเมืองไทยที่พัฒนาเติบโตอย่างรวดเร็ว
การค้าขายระหว่างประเทศกลายเป็นเรื่องที่พวกเขาจะต้องเรียนรู้ติดตามให้ทันตลอดทั้งข้อกฎหมายและเทคนิคต่างๆ
ในการประกอบวิชาชีพก็จำเป็นจะต้องพัฒนาให้ทันกับคู่ค้าจากทั่วสารทิศที่กำลังหลั่งไหลเข้ามาในเมืองไทยในปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)