"ไทยยังไม่มีกฎหมาย ความรับผิดเกี่ยวกับสินค้าที่บกพร่อง"
เมื่อหลายวันก่อนมีหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งลงข่าวว่า ในประเทศจีนมีชาวนาชื่อ นายหวู เจียง ซี อุตส่าห์เก็บหอมรอมริบเงินเพื่อซื้อโทรทัศน์ที่ผลิตในประเทศจีนยี่ห้อหนึ่งให้สมาชิกในครอบครัวได้ดู แต่เจ้าโทรทัศน์เกิดระเบิดมาดื้อ ๆ เป็นเหตุให้ลูกชายนายหวูเสียชีวิตไป 1 คน อีกคนเป็นคนพิการ บ้านของนายหวูไหว้ไปกว่าครึ่งหลัง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
ประภัสร์ จงสงวน มือกฎหมายทางด่วน
หนุ่มนักเรียนนอกผู้นี้หมายมั่นปั่นมือว่าเมื่อเรียบจบออกมาจะเป็นตำรวจ
แต่ความตั้งใจที่มีอยู่เดิมต้องแปรเปลี่ยนไปด้วยเหตุผลส่วนตัวบางประการ ในขณะที่ความสามารถขณะนั้น
ได้ผลักดันให้เขาเข้ามานั่งอยู่ในตำแหน่งผู้อำนวยการกองนิติการของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
ข้อบกพร่อง กฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
ทุกวันนี้ประเทศไทยได้มีโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้นมากมาย สิ่งที่สื่อมวลชนหลายแขนงได้รณรงค์กัน
อย่างครึกโครม ก็คือการรักษาสภาวะแวดล้อมไม่ว่าจะเป็นเรื่องอากาศหรือแม่น้ำ
ลำคลอง แต่บางครั้งผู้ที่ห่างไกลจากมลภาวะเป็นพิษเหล่านี้ก็ยังมิได้ตระหนักถึงปัญหานี้อย่างจริงจัง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
เปิดรูรั่วกฎหมาย ประกันภัยบุคคลที่ 3
ในปัจจุบันการชดใช้ค่าเสียหายทางร่างกาย เนื่องมาจากอุบัติเหตุทางยานยนต์ตามระบบกฎหมายไทย
จะวางอยู่บนหลักกฎหมายละเมิดกับแหล่งค่าสินไหมทดแทนอื่น ๆ อาทิ สัญญารับขนคนโดยสาร
การประกันภัย หรือกฎหมายคุ้มครองแรงงานก็ตาม แต่โดยเหตุที่การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามแหล่งอื่น
ๆ ก็มีขอบเขตการใช้บังคับและการคุ้มครองอยู่ในวงจำกัด
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)
"ความต่างข้อกฎหมายเรื่องเครื่องบินตก"
ปัจจุบันนี้ ใครต่อใครหลายคนอาจมีความรู้สึกว่า โลกมนุษย์เราใบนี้มีขนาดเล็กหรือแคบลงกว่าแต่ก่อน
เพราะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ทำให้เรามีความสามารถที่จะติดต่อสื่อสารถึงกันได้รวดเร็วขึ้นแต่กอนเป็นอันมาก
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2534)
ปมปริศนา "วัลลภ ธารวณิชกุล"
"ยังไม่มีใครยืนยันว่าเขาตายจริง แต่ถึงเป็นความจริงก็ไม่มีผลปะไรมากนักต่อคดี"
วารี หะวานนท์ ประธานกรรมการธนาคารสยามตอบข้อสงสัยเกี่ยวกับกรณีข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งที่ลงข่าวเรื่องวัลลภ ธารวณิชกุล หรือ "จอห์นนี่ มา" ได้เสียชีวิตแล้วด้วยโรคหัวใจที่ประเทศสเปนตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2534)
กฎหมายเรื่องการสื่อสารกับความก้าวหน้าของประเทศ: รัฐคิดเอาหุ้นลมมาแลกด้วยไหม ??
สุธรรม อยู่ในธรรมเป็นนักกฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดที่มาวาจาเฉลียวแหลมอันมาจากความรู้
และสมองอันปราดเปรื่อง เขาเป็นนักวิชาการที่มีจำนวนไม่กี่คนที่ออกมาให้ความเห็นเรื่องโทรศัพท์บริษัทซีพี
และมีนักวิชาการเพียงคนเดียวที่พูด และเรียกร้องให้มีการร่างกฎหมายการสื่อสารขึ้นมาใช้อย่างเป็นเรื่องเป็นราวในเมืองไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
กฎหมายมลพิษทางทะเล
มนุษย์ได้แสวงหาประโยชน์จากทะเลมานานนานัปการ ไม่ว่าจะเป็นแหล่งอาหาร พลังงาน
เศรษฐกิจ แต่ในขณะเดียวกัน มนุษย์ก็สร้างปัญหาให้กับทะเล โดยการทำลายสภาวะแวดล้อม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)