การแก้วิกฤตการณ์และสร้างภาพลักษณ์ให้แก่องค์กร
ทุกท่านคงจะเห็นพ้องต้องกันว่าภาพลักษณ์เป็นเรื่องของการสร้างสรรค์(Creation)ซึ่งต้องใช้เวลาในการสร้างอย่างยาวนานและต่อเนื่อง นอกจากนี้ภาพลักษณ์อาจถือได้ว่าเป็นสิ่งที่ปรากฏให้เห็นหรือ appearance ไม่น้อยกว่าความเป็นจริง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2527)
เลือกที่ตั้ง (โรงงานคลังสินค้า...) กันอย่างไร?
การตัดสินใจเลือกที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรมคลังสินค้า หรือศูนย์บริการซึ่งต้องกระจายไปตามที่ต่างๆ มักสร้างความหนักใจให้แก่ผู้รับผิดชอบในเรื่องนี้มาก ในกรณีที่มีความประสงค์ให้ที่ตั้งของโรงงาน ฯลฯ เป็นไปอย่างถูกหลักเกณฑ์จริงๆ และเป็นไปได้ในทางปฏิบัติในเวลาเดียวกัน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2527)
MITI มันสมองที่แท้จริงของญี่ปุ่น
ประเทศญี่ปุ่นได้ดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจด้วยระบบรวมศูนย์มากกว่า 100 ปี
โดยกลุ่มสมาคมไซบัทสุ ซึ่งมีอิทธิพลครอบคลุมระบบเศรษฐกิจมาตั้งแต่ปลายศตวรรษที่
19 จวบจนกระทั่งสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ค่อยๆ ถูกแทนที่ด้วยบริษัทธุรกิจที่ดำเนินกิจการค้าขายในรูปแบบปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2527)
การประชุมการบริหารค่าจ้างในระดับกิจการในประเทศไทย
เรื่องการบริหารค่าจ้างในระดับกิจการในประเทศไทยนี้เป็นโครงการประชุมนายจ้างซึ่งจัดโดยสภาองค์การนายจ้างแห่งประเทศไทย ที่โรงแรมอินทรา เมื่อวันที่ 21-22 เดือนสิงหาคม 2527 เวลา 09.00-16.30 น.
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2527)
การเจรจาต่อรองที่ถูกวิธีเป็นพื้นฐานของกำไรที่คุณควรจะได้รับ
ไพบูลย์ สำราญภูติ และวุฒิวัตน์ อรรถจริยา เชื่อเช่นนั้นจึงได้ร่วมกันแปลและเรียบเรียง “นักเจรจาต่อรอง” จากหนังสือ “THE NEGOTIATOR : A MANUAL FOR WINNERS “ ของ “ROYCE A.COFFIN” หนังสือเล่มนี้มีเสน่ห์และน่าสนใจมากเพราะใช้ภาษาง่ายๆ สั้น กะทัดรัด และมีการ์ตูนวาดประกอบ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2527)
กลยุทธ์เพื่อความอยู่รอดเมื่อเผชิญวิกฤตการณ์ยุ่งยากที่คาดไม่ถึง
ยุทธศาสตร์ในการปฏิบัติ 4 วิธี ท่านผู้อ่านคงทราบดีว่า หลังจากเกิดวิกฤตทางการเงินเนื่องจากรัฐบาลใช้นโยบายควบสินเชื่อเมื่อต้นปี 2527 เป็นต้นมา ทำให้ธุรกิจในหลายๆ วงการต้องมอดม้วยล้มละลายไปตามๆ กัน และมีอีกจำนวนไม่น้อยที่เจ้าของกิจการเตรียมหลบหนี้หนีหน้าตามผู้กล้าหาญชุดแรก
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2527)