หกที่ปรึกษานายกฯ "พวกผมไม่ต้องการอำนาจ"
คนไทย…รอคอยผู้บริหารประเทศที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน เพื่อประชาชนมานานนับสิบปี
คณะรัฐบาลในวันนี้ มีเรื่องที่ต้องแก้ไขอยู่ทุกวี่ทุกวัน วันละนับสิบนับร้อยเรื่อง
จำเป็นอยู่เองที่จะต้องมี "ที่ปรึกษา"
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2531)
สัมผัสโลกนักวางแผนอย่าง ดร. เสนาะ อูนากูล
ในมันสมองของ ดร. เสนาะ อูนากูล เลขาธิการสภาพัฒน์และประธานสภาทีดีอาร์ไอ
ไม่ทราบมีรอยยับย่นกี่ร่องรอย แต่ฐานะบทบาทและศักยภาพของเขาเป็นที่เลื่องลือ
(ทั้งที่เชื่อในฝีมือและที่วิพากษ์วิจารณ์)
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2531)
วิกฤตทางการเมืองวิกฤตรัฐธรรมนูญ หัวเลี้ยวหัวต่อทางการเมืองที่ต้องการการหักมุม ก่อนที่สถานการณ์ทุกอย่าง...จะสายเกินไป
การวิเคราะห์สถานการณ์สำหรับหนังสือพิมพ์รายเดือน ในขณะที่สถานการณ์มีการพัฒนาตัวอย่างรวดเร็วในปัจจุบันนี้ นับว่ามีข้อจำกัดไม่น้อย เมื่อเป็นดังนี้ ผู้เขียนจึงขอเกริ่นนำไว้ ณ ที่นี้ว่า บทวิเคราะห์ชิ้นนี้เป็นการมองสถานการณ์โดยรวม จากสถานการณ์พื้นฐานในต้นเดือนมิถุนายน ซึ่งมีบางเงื่อนไขและบางตัวแปรที่มีลักษณะแฝงเร้นเกินกว่าที่จะนำมาพิจารณาปัญหา ในขณะที่ทำการวิเคราะห์ ได้ แต่อย่างไรก็ตาม บทวิเคราะห์ชิ้นนี้ได้พยายามอย่างยิ่งที่จะเสนอในสิ่งที่ผู้อ่านหนังสือพิมพ์รายเดือนสามารถนำไปใช้พิจารณาสถานการณ์ได้ เมื่อมีปรากฏการณ์ทางการเมืองเกิดขึ้นในช่วงต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2531)
ศุภชัย พานิชภักดิ์ เดินหมากผิดตาเดียวผลมหาศาล
อายุ 42 ปี สำเร็จปริญญาเอกทางด้านเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงของเนเธอร์แลนด์ เป็นลูกศิษย์นักเศรษฐศาสตร์เจ้าของรางวัลโนเบล ศาสตราจารย์แจน ทินเบอร์เกน เคยสอบเข้าเรียนแพทย์ได้เมื่ออายุเพียง 16 เป็นนักเรียนทุนของแบงก์ชาติ เคยดำรงตำแหน่งในแบงก์ชาติสำคัญ ๆ หลายตำแหน่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2531)
คลื่นการเมืองก่อนการเลือกตั้งเมื่อพลเอกเปรม ถูกถวายฎีกา
สำหรับเรื่องของการถวายฎีกานั้น แหล่งข่าวในกลุ่มกล่าวว่าเริ่มค้นคิดกันเมื่อกลางเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา สำหรับคำถามที่ว่าทำไมถึงเลือกวิธีการถวายฎีกานั้น รศ. ธงทอง จันทรางศุ รองคณะบดีฝ่ายปกครอง คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ลงชื่อในฎีกาดังกล่าวได้ ให้คำตอบที่ชัดเจนว่า
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2531)
ฎีกา
ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้าผู้มีรายนามข้างท้ายนี้ ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทถวายความเห็นเกี่ยวด้วยสถาพการณ์และสถานการณ์บ้านเมือง ดังนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2531)
ถึงอย่างไรก็ยังต้องมุ่งไปทางประชาธิปไตย
ทุกวันนี้มีการแสดงความไม่พอใจสภาพการเมืองไทยกันมาก โดยแบ่งออกได้เป็นสองประเด็นกว้างๆ ประเด็นแรกคือไม่พอใจที่ผู้นำของกองทัพยังคงมีอำนาจชี้ขาดทิศทางการเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัญหาการจัดตั้งรัฐบาล อันนี้ทำให้พรรคการเมืองต่างๆ ที่ส่งผู้สมัครลงสนามเลือกตั้งครั้งแล้วครั้งเล่าไม่สามารถใช้อำนาจที่ปวงชนมอบให้ได้อย่างแท้จริง และกลายสภาพเป็นเครื่องพ่วงของกลุ่มอำนาจนอกสภาไป
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2531)
สนั่น-รพช. บทเรียนของคนที่คิดว่าตนมีอำนาจ
รพช. หน่วยงานที่ถูกขนานนามตามตัวย่อให้เป็นแหล่งรวมของเหล่าเสือ สิงห์
กระทิง แรด ผลประโยชน์ที่ล่อตาล่อใจ ชวนให้น้ำลายหก เป็นชนวนแห่งความขัดแย้ง
เมื่อผู้มาใหม่บังอาจเอื้อมมือไปดึงชิ้นเนื้อออกจากปากของเจ้าถิ่น
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2531)