ก่อนจะถึงวันนั้น
บอกตรงๆ ว่าหลายครั้งผมเริ่มท้อและหมดหวังกับสังคมไทย ผมไม่ได้รักชาติ รักสังคม มีอุดมการณ์แก่กล้าอะไรนักหรอก และไม่ใช่คนประเภทที่ตัวสั่นทุกครั้งที่เห็นความอยุติธรรมจนป็นเพื่อนเซ
กูวาร่าได้
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2539)
"ปุตราจายา" เมืองแห่งวิสัยทัศน์ของมหาเธร์"
อีก 5 ปี มาเลเซียจะมีเมืองหลวงแห่งใหม่ ในชื่อ "ปุตราจายา" การเริ่มต้นสร้างเมืองใหม่เป็นไปอย่างคึกคัก
ทุกคนมีเป้าหมายร่วมกันภายใต้การนำของผู้นำที่ได้รับการยอมรับสูงสุด "มหาเธร์"
ปัจจัยอะไรที่ทำให้มาเลเซียต้องสร้างเมืองใหม่ ทั้งที่กัวลาลัมเปอร์แออัดไม่ได้ถึงครึ่งของกรุงเทพฯ
กระบวนการสร้างเมืองใหม่เป็นอย่างไร และโฉมหน้าในอนาคตของ "ปุตราจายา"
จะเป็นเช่นไร
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2538)
"เราสามารถทำทุกอย่าง ได้ด้วยตัวของเราเอง"
ตันศรี ดาโต๊ะ มูฮัมหมัด บิน ฮัจยี มูฮัมหมัด ตาอีฟ (TAN SRI DATO MUHAMMAD BIN HAJI MUHAMMAD TAIB) ประมุขแห่งรัฐเซลังงอร์ (CHIEF MINISTER OF SELANGOR STATE) ประเทศมาเลเซีย ในฐานะรัฐเจ้าของที่ดินสำหรับเมืองใหม่ปุตราจายา เป็นผู้ลงนามในข้อสัญญาเพื่อใช้ที่ดินในการสร้างเมืองใหม่กับรัฐบาลกลาง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2538)
"อากร ฮุนตระกูล สุดยอดนักการเมือง"
เส้นทางการเมืองของอากร ฮุนตระกูล แห่งเครือโรงแรมอิมพีเรียล ยุติลงอย่างรวดเร็วเกินคาด
นับจากการได้รับเลือกเป็น ส.ส. เขต 1 ของกรุงเทพมหานคร เมื่อการเลือกตั้งเดือนกันยายนปีที่แล้ว
ก็เป็นเวลาเพียง 7 เดือนเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2536)
"เหนือสิ่งอื่นใดประชาชนต้องมาก่อน"
เช้าตรู่ของวันประกาศผลประธานาธิบดี ผู้คนในนิวยอร์กดูจะตื่นเช้ากว่าปกติบางบ้านเปิดประตูบ้าน
เปิดประตูร้านค้าเร็วกว่าที่เคยเป็นคนเฒ่าคนแก่ตื่นขึ้นมาสูดอากาศกับวันฟ้าโปร่าง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2535)
เมื่อถูกโอนเป็นของรัฐจะทำอย่างไร
แนวโน้มการลงทุนในอินโดจีนกำลังสูงขึ้น อินโดจีนยังไม่มีกฎหมายคุ้มครองทรัพย์สิน ใด ๆ ต่อผู้ลงทุน ถ้าถูกโอน เป็นของรัฐ จะทำอย่างไร ความหวาดกลัวของนักลงทุนที่ไปลงทุนในต่างแดนมีอยู่มากมายไม่ว่าจะเป็นภาวะความผันผวนทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐ การควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราและการที่รัฐบาลที่รับการลงทุนเปิดกิจการแข่งขันกับนักลงทุน เป็นต้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
“ความคิด ความหวัง และความใฝ่ฝัน ของบิล คลินตัน
“....ท่านสุภาพบุรุษ ท่านสุภาพสตรี และเพื่อนอเมริกาที่รัก ณ เวลานี้อเมริกากำลังตกอยู่ท่ามกลางมรสุมของความตกต่ำทางเศรษฐกิจโรงงานเครื่องจักร ถูกปล่อยให้รกร้างมีแต่หยากไย่และฝุ่น พ่อแม่ของเด็กของเราไม่มีงานทำ หน้าหนาวที่จะถึงนี้ เรายัง ไม่แน่ใจเลยว่าเครื่องฮีตเตอร์ตามบ้านยังจะให้ความอบอุ่นอยู่อีกหรือไม่ อเมริกาต้องการความเปลี่ยนแปลง อเมริกาต้องการคนหนุ่ม ผู้ยังมีไฟฝันคุโชนมาทำงาน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
เปิดแดนสนธยาสนง.ทรัพย์สินฯ
นโยบายการลงทุนใหม่ ๆ และการปรับโครงสร้างการบริหารเริ่มเกิดขึ้นในสำนักงานทรัพย์สินฯ หลังจากจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา เข้ามาเป็นผู้อำนวยการ ตลอดระยะเวลา 5 ปีที่จิรายุบริหารรายได้มหาศาลของสำนักงานทรัพย์สินฯ เพิ่มพูนถึง 5 เท่าตัว เบื้องหลังการเติบโตนี้ มาจากการปรับปรุงระบบการบริหารสินทรัพย์ใหม่หมด พร้อม ๆ กับสร้างความสมดุลทางด้านรายได้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)