Elizabeth May
“สิ่งดีๆ หลายอย่างเกิดจากสัญชาตญาณความเป็นแม่” Elizabeth May เป็นนักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมานานถึง 40 ปี May ผู้เป็นทั้งทนายความหญิง นักเขียน และเป็นคุณย่าของหลานๆ เคยดำรงตำแหน่งผู้อำนายการบริหาร Sierra Club of Canada มานานถึง 17 ปี (1989-2006) ก่อนที่จะกลายมาเป็นผู้นำพรรคอนุรักษ์ Green Party ของแคนาดา May จะกล่าวถึงบทบาทของผู้หญิงกับการเมือง “สีเขียว”
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2554)
Renate Kunast
“เยอรมนีจะต้องเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อแก้ปัญหาโลกร้อน” การประท้วงอย่างกว้างขวางที่เกิดขึ้นหลังจากนายรัฐมนตรี Angela Merkel ของเยอรมนี ตัดสินใจยืดอายุโรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์ อาจมีผลถึงขนาดทำให้พรรค Greens ซึ่งยึดนโยบายแนวอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ประสบความสำเร็จอย่างที่ไม่เคยพบมาก่อนในการเลือกตั้งเยอรมนีในปีหน้า
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2554)
Wangari Maathai
“ผู้หญิงมีส่วนอย่างมากในการช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม” กว่า 30 ปีมาแล้ว ที่ Wangari Maathai เป็นคนริเริ่มแนวคิดการใช้แรงจูงใจทางเศรษฐกิจกระตุ้นให้ผู้หญิงในชนบทและเกษตรกรปลูกต้นไม้บนที่ดินของพวกเขา เพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อม และสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2554)
ด้วยสองมือแม่จะปกป้องโลก
การมีบทบาทในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมช่วยเพิ่มอำนาจให้แก่ผู้หญิง Helen Clark อดีตนายกรัฐมนตรีหญิงของนิวซีแลนด์และปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ระบุก่อนการประชุมสุดยอดปัญหาโลกร้อนที่โคเปนเฮเกนเมื่อ 2 ปีก่อนว่า คนจนทั่วโลกคือผู้ที่ได้รับผลกระทบหนักที่สุดจากปัญหาโลกร้อน และในบรรดาคนจนเหล่านั้น กลุ่มที่ได้รับผลกระทบหนักกว่าใครคือผู้หญิง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2554)
ผู้นำหญิงกับการแก้ปัญหาโลกร้อน
ปัญหาภูมิอากาศโลกเปลี่ยนแปลงหรือเรียกง่ายๆ ว่า ปัญหาโลกร้อน เคยเป็นประเด็นที่โลกให้ความสำคัญมากที่สุดเพียงเมื่อ 2-3 ปีก่อน แต่แล้วปัญหาโลกร้อนกลับถูกกลบความสำคัญไปเพราะปัญหาวิกฤติการเงินและเศรษฐกิจโลก ซึ่งมีชนวนจากฟองสบู่แตกในตลาดสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ด้อยคุณภาพของสหรัฐฯ (subprime)
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2554)
น้ำท่วม น้ำแล้ง ปัญหาเดียวกัน
ในช่วงเดือนกันยายนถึงพฤศจิกายน ประเทศไทยจะต้องผจญกับปัญหาน้ำท่วม ตามมาด้วยแผ่นดินถล่มเป็นประจำทุกปี และช่วงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมก็ต้องเจอกับปัญหาน้ำแล้งที่ร้อนระอุไปทั่ว ตกลงประเทศไทยที่เคยขึ้นชื่อว่า ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว มีช่วงที่อยู่ได้อย่างพอเพียงประมาณ 6 เดือนเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2553)
โคลนพิษมรณะถล่มฮังการี
"โคลนพิษสีแดง" ได้รั่วไหลออกมาจากอ่างเก็บกักน้ำเสียของโรงงาน แม้ฮังการีจะเคยประสบภัยพิบัติด้านสิ่งแวดล้อมมาแล้วหลายครั้ง แต่ไม่เคยมีครั้งใดที่ร้ายแรงเท่าครั้งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2553)
ปัญหาโคลนพิษในฮังการีอาจเลวร้ายลงอีก
หลังจากฮังการีถูกโคลนพิษถล่ม เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ซึ่งนับเป็นการรั่วไหลของสารพิษครั้งร้ายแรงที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของยุโรปกลาง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2553)
จัดการมลพิษ...แบบชาติเศรษฐกิจ
มลพิษอุตสาหกรรมเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นเกือบทุกประเทศที่มีอุตสาหกรรม กรณีมาบตาพุดมิได้เป็นปัญหาพิเศษแต่อย่างใด หากปัญหาทำนองเดียวกันนี้เกิดขึ้นมาแล้วหลายครั้งในชาติอุตสาหกรรมหลายประเทศ ไม่ว่าจะเป็นสหรัฐฯ ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส เยอรมนี รัสเซีย ต่างล้วนมีประสบการณ์การแก้ปัญหามลพิษมาอย่างยากเย็น เข็ญใจ กว่าจะสัมฤทธิผลก็ต้องกินเวลาเข้าไปหลายทศวรรษ
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤศจิกายน 2553)
ธรรมชาติฟื้นตัวจากภัยพิบัติ...อย่างไร
ช่วงนี้หลายๆ คนคงจะหวาดผวาไม่ใช่น้อยในเรื่องภัยพิบัติธรรมชาติต่างๆ ที่เกิดขึ้นหลายๆ แห่งทั่วโลก ทั้งแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด น้ำท่วม ไฟป่า พายุหมุน ดินถล่ม ยิ่งกว่านั้น! ยังเป็นที่แปลกใจกันว่า ทำไมปรากฏการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นไล่ๆ กัน หนำซ้ำโลกยังร้อนระอุไปด้วยภาวะโลกร้อนจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทำให้หลายคนมีความกังวลกันว่า ธรรมชาติที่ถูกทำลายนี้จะฟื้นคืนสภาพได้แค่ไหน อย่างไร และมนุษย์เราจะปรับตัวได้แค่ไหน บทความนี้จะชี้ให้เห็นคร่าวๆ ถึงผลกระทบและการฟื้นคืนสภาพจากหายนภัยที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2553)