สนามกอล์ฟ 1 แห่ง ใช้น้ำเท่ากับ 1 อำเภอ
สภาวะแห้งแล้งรุมเร้าอย่างหนักในปีนี้ส่งผลชัดเจนถึงขนาดที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ต้องสั่งระงับการทำนาในพื้นที่อู่ข้าวอู่น้ำ
20 จังหวัด แถบภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบนเพื่อนสำรองปริมาณน้ำอันมีน้อยนิดเอาไว้
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
1 ปีมูลนิธิสืบนาคะเสถียรเถียงกันยังไม่จบ
การแสวงหาความเป็น สืบ นาคะเสถียร ในหมู่กรรมการมูลนิธิ ยังเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันไม่จบ
มีกรรมการลาออกไปแล้ว 2 คน อนาคตมูลนิธิสืบยังไม่ราบรื่นในการเดินสู่เป้าหมาย...ทำไม
?
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
นโยบายมูลนิธิสืบฯ
นโยบายมูลนิธิ 1.สนับสนุน และร่วมมือในการจัดการให้เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และทุ่งใหญ่นเรศวรมีฐานะเป็นป่าอนุรักษ์ตัวอย่างของชาติ และเป็นมรดกทางธรรมชาติของประชาชน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
มูลนิธิสืบฯ ทำอะไรไปแล้วบ้าง
ปัญหาภายในของมูลนิธิสืบฯ มีอยู่จริง และภาพของมูลนิธิฯ ก็เงียบหายไปทุกที
สิ่งนี้กรรมการต่างยอมรับ ทว่าทุกคนก็ยังรู้สึกว่า เท่าที่ผ่านมา ถ้าจะเฉลิมฉลองความสำเร็จของการทำงานครบรอบ
1 ปี ก็มีเรื่องควรเฉลิมฉลองอยู่ไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
คนเฝ้าแผ่นดินผู้ถูกลืม
ผืนป่าอาณาเขต 1,019,379 ไร่ที่ทอดตัวเงียบกริบคลุมอยู่ในท้องที่ของอำเภอลานสัก
อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี และอำเภออุ้มผาง จังหวัดตากโอบเก็บชีวิตคนและสัตว์ไว้ในความห่างไกลอย่างมิดชิด
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
กฎหมายมลพิษทางทะเล
มนุษย์ได้แสวงหาประโยชน์จากทะเลมานานนานัปการ ไม่ว่าจะเป็นแหล่งอาหาร พลังงาน
เศรษฐกิจ แต่ในขณะเดียวกัน มนุษย์ก็สร้างปัญหาให้กับทะเล โดยการทำลายสภาวะแวดล้อม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
กุ้งกุลาดำ จากสามสมุทรถึงแผ่นดินผืนสุดท้ายบนฝั่งอันดามัน
การเลี้ยงกุ้งกุลาดำก็เหมือนกับการทำไร่เลื่อนลอย ที่ต้องเคลื่อนย้ายเปลี่ยนที่ทำกินไปเรื่อย
เมื่อที่เดิมหมดสภาพ วันนี้ธุรกิจกุ้งกุลาดำเคลื่อนตัวลงใต้จนครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งทะเลทุกตารางนิ้วแล้ว
บางแห่งเพิ่งจะเริ่ม แต่หลาย ๆ แห่งเริ่มนับถอยหลังแล้ว ไม่มีใครรู้ว่า ธรรมชาติจะปราณีให้อาชีพนี้มีอายุที่ยืนยาวเพียงใด
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
ปัญหาสิ่งแวดล้อมฟิลิปปินส์ทางสองแพร่งที่ต้องเลือก
ดูเหมือนว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมนับวันจะทวีความเข้มข้นขึ้นทุกขณะ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ด้วยแล้วก็ยิ่งเป็นอุปสรรคอันหนักหน่วงสำหรับรัฐบาลในการดำเนินการแก้ไข อย่างในกรณีของโรงงานหลอมทองแดงแห่งหนึ่งของลีพานโต คอนโซลิเด็ทเต็ด ไมนิ่งโค ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมเหมืองแร่รายใหญ่ในฟิลิปปินส์
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
ทีดีอาร์ไอ สัมมนาสิ่งแวดล้อม Polluter pays principle
หลังจากที่เริ่มใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 เมื่อปี 253 และจะสิ้นสุดเอาปีหน้านี้แล้วนั้น ประเทศไทยก็เริ่มส่อเค้าก้าวเข้าสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (นิกส์) ด้วยอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ยปีละกว่า 10%
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
การบังคับใช้กฏหมายในการแก้ปัญหามลพิษ
ทุกวันนี้จะแลไปทางไหน ก็มีแต่คนกล่าวขานถึงสิ่งแวดล้อมกันขรมไปหมด โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อมที่ใกล้ พบเห็นได้อยู่บ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเป็นอากาศ ต้นไม้ หรือน้ำในแม่น้ำลำคลอง ซึ่งปัจจัยเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมนี้เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอย่างไม่มีการคาดคิดมาก่อน และกลายเป็นปัญหาของประเทศที่กำลังพัฒนาไปเป็นประเทศอุตสาหกรรมหนักสูงขึ้น หรือการส่งออกอุตสากรรมไปยังประเทศที่ล้าหลัง เพื่อรักษาวงจรอุตสาหกรรมของโลก
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)