Katrina : America's Real Face
ต้นฉบับฉบับนี้เขียนหลังจากที่เฮอริเคน Katrina ถล่มตอนใต้ของอเมริกาไปแล้วได้ 2 สัปดาห์ จากเวลานับสิบวัน นั่งดูข่าว ฟังวิทยุ อ่านหนังสือพิมพ์ ทำให้เกิดความรู้สึกหดหู่ เศร้าใจ ท้อแท้ หมดหวังในระบบการเมือง...อเมริกา... แผ่นดินผืนนี้ที่ขึ้นชื่อว่าเป็นประชาธิปไตย เป็นชาติที่ร่ำรวยที่สุดในโลก มีอำนาจที่สุดในโลก ล้วนเป็นภาพลวงตา... ความล้มเหลวของมาตรการช่วยเหลือประชาชนหลังเกิดภัยพิบัติจากธรรมชาติครั้งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2548)
"อีกกี่สิบปี เมืองใหม่ไทยก็ยังไร้วี่แวว"
ความปรารถนาที่จะสรรค์สร้างเมืองใหม่ขึ้นมารองรับความแออัดของกรุงเทพฯ นั้น เกิดขึ้นมานานหลายทศวรรษแล้ว จนล่าสุดแนวความคิดเรื่องเมืองใหม่ผุดขึ้นมามากมายราวดอกเห็ด แต่แนวความคิดเหล่านั้นมีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติเพียงใด ก็ขึ้นอยู่กับวิสัยทัศน์ของผู้นำและผลประโยชน์ของผู้ทำงานรอบข้าง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2538)
"ความฝันที่ไร้ปลายทางของชาวท่าตะเกียบ"
หากเอ่ยถึงชื่อ อ. สนามชัยเขต จ. ฉะเชิงเทราในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา เราจะได้ยินไปพร้อมกับเขาอีด่าง
สถานที่ซึ่งใช้เป็นศูนย์อพยพของชาวเขมรที่หนีสงครามเข้ามา ด้วยความเป็นอำเภอที่ห่างชายแดนเพียง
50 กม. ภูมิประเทศที่เป็นป่าไม้อนุรักษ์ขนาดใหญ่ และป่าเสื่อมโทรมที่นำมาทำไร่ได้บ้าง
บวกกับพื้นดินที่เป็นดินร่วนปนทรายเสียส่วนใหญ่ซึ่งเหมาะกับการปลูก "ยูคาสิปตัส"
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2538)
บังคับใช้ "ไร้สารตะกั่ว" ไม้แข็งสำหรับนักขับไม่รักสีเขียว
15 กรกฎาคม 2538 สถานีบริการน้ำมันของการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย หรือปตท.
จะยกเลิกการจำหน่ายน้ำมันเบนซินพิเศษมีสารตะกั่วในเขตกรุงเทพมหานคร จากนั้นหนึ่งเดือนสถานีบริการน้ำมันของปตท.ทั่วประเทศจะสามารถยกเลิกการจำหน่ายเบนซินพิเศษมีสารตะกั่วได้ทั้งหมด
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
"กุณฑล สุนทรเวช กับชมรมรักกรุงเทพ"
"ชมรมรักกรุงเทพ" เริ่มเป็นชื่อคุ้นหูคนเมืองหลวงมากขึ้น เมื่อเดือนสองเดือนมาแล้วนี่เอง ในฐานะหัวหอกเคลื่อนไหวคัดค้านการสร้างระบบขนส่งมวลชนแบบรถไฟลอยฟ้า ด้วยเหตุผลที่ว่าจะทำให้ทัศนียภาพของกรุงเทพฯ ซึ่งไม่ค่อยจะน่าดูอยู่แล้ว เป็นที่อุจาดตามากขึ้นไปกว่าเดิม ด้วยทางลอยฟ้าที่พาดไปพาดมาทั่วเมืองอีกทั้งเสียงที่เกิดจากขบวนรถไฟเวลาเบรคก่อนเข้าสถานี ก็เป็นตัวการสำคัญในการทำให้เกิดมลภาวะทางเสียงด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2537)
สิ่งแวดล้อมวันนี้ มีเพียงจิตสำนึกบนริมฝีปาก
"เมื่อ 20 ปีที่แล้ว ผมพูดเรื่องสิ่งแวดล้อมเหมือนพูดกับกำแพง พูดแล้วกระเด้งใส่หน้าตัวเอง ถ้าไปบรรยายที่ไหนแล้วแทรกเรื่องสิ่งแวดล้อมเข้าไป สมมุติมีคนฟัง 50 คน เหมือนมีพลาสติกหรือกระจกกั้นอยู่แล้วสะท้อนเข้าหาตัวผมคนฟังรู้สึกเหมือนผมพูดเรื่องอะไรไม่รู้"
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2537)
ป่าพรุที่หาดไม้ขาว ทาบทับด้วยเงาของหงษ์หยก
ป่าพรุหรือป่าทางภาคใต้ที่อยู่ในที่ลุ่มมีน้ำขังทั้งบนผิวดินหรือใต้ดิน
ป่าพรุที่ภูเก็ตกำลังเป็นข้อพิพาทที่อยู่บนพื้นฐานความขัดแย้งระหว่างแนวความคิดเรื่องการอนุรักษ์ธรรมชาติ
และผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่อยู่ภายใต้ข้ออ้างเรื่องการพัฒนาท้องถิ่นให้เจริญ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2536)
"ทัศนะของหน่วยธุรกิจอุตสาหกรรมกับการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม"
สภาพสังคมปัจจุบัน เป็นสภาพที่มนุษย์ประสบความสำเร็จอย่างใหญ่หลวงต่อการพัฒนาความเป็นอยู่ในทุกด้านของชีวิต
สำหรับประเทศไทยในสายตาของนักการธนาคารและนักการอุตสาหกรรมเป็นประเทศที่ประสบความสำเร็จอย่างงดงาม
ในการพัฒนาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจติดต่อกันมาเป็นเวลาหลายปี
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)
"เบนซินไร้สารตะกั่ว HCFC-123 และ HFC-134a ตัวการสำคัญช่วยลดมลพิษในอากาศ
85% ของปริมาณสารตะกั่วในเขตกทม. ซึ่งเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดมลภาวะมาจากการใช้น้ำมันเบนซินชนิดที่มีสารตะกั่ว
และการลดลงของปริมาณก๊าซโอโซนในชั้นบรรยากาศเกิดจากการใช้สาร CFC ซึ่งเป็นสารที่ทำให้เกิดความเย็น
วิธีที่จะช่วยลดมลพิษของโลกได้ก็ด้วยการใช้สารทดแทนอื่นๆ คือ เบนซินไร้สารตะกั่ว
HCFC-123 และ HFC-134a
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2536)
"มลพิษในอากาศสามารถแก้ไขได้"
มลภาวะทางอากาศของประเทศกำลังเป็นปัญหาที่ทวีความรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของคาร์บอนมอนอกไซด์
(CO) ออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ไฮโดรคาร์บอน (HC) ตะกั่ว (Pb) และสารฝุ่นละออง
(ควันดำ) มลสารเหล่านี้เป็นตัวการสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศ โดยแหล่งที่ก่อมลพิษทางอากาศที่สำคัญคือการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในยานพาหนะ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2536)