เก๊าไม้ล้านนา ที่นี่มีเรื่องราว
10 ปีที่แล้ว คงไม่มีใครคาดคิดว่า ธวัช เชิดสถิรกุล จะสามารถพลิกฟื้นผืนดินที่เคยใช้เป็นที่ตั้งโรงบ่มใบยาสูบเก่าที่เลิกกิจการไปแล้วนำมาปรับปรุงใหม่เป็น boutique hotel ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่ไม่มีใครลอกเลียนแบบได้เหมือน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2548)
วัฒนธรรมที่หลากหลายใน "ตรีญาณรส"
ด้วยความที่เป็นสถาปนิกที่มุ่งมั่นศึกษาศิลปวัฒนธรรมล้านนา ทำให้วรวิทย์ ภู่ประเสริฐ ตัดสินใจนำจุดแข็งทั้ง 2 ด้าน สร้างขึ้นเป็น "ตรีญาณรส"
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2548)
นอนฟังเสียงน้ำตกที่ สุกัณธารา
อากาศบนหุบเขาที่หนาวเย็น ผนวกกับเสียงน้ำไหลที่ดังเป็นระยะ กลายเป็นเสน่ห์ที่ดึงดูดผู้คนให้ขึ้นมาที่สุกัณธารา รีสอร์ตติดน้ำตก ในอำเภอแม่ริม
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2548)
บ้านน้ำปิง ความกลมกลืนโดยบังเอิญ
จากจุดเริ่มต้นที่ต้องการปลูกบ้านไว้อยู่เองริมแม่น้ำ ทำให้การวางผังตลอดจน landscape ของบ้านน้ำปิง ถูกกำหนดเอาไว้
ไม่ให้ทำลายทัศนียภาพ ยิ่งเมื่อเจ้าของเป็นคนชอบปลูกต้นไม้ ยิ่งทำให้ boutique resort แห่งนี้ กลมกลืนเข้ากับธรรมชาติไปได้โดยบังเอิญ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2548)
สวายเรียง ตัวแทนวัฒนธรรม
"สวายเรียง" เป็นตัวอย่างผู้ประกอบการรายแรกๆ ที่เข้าใจถึงคุณค่าของวัฒนธรรม แต่การขาดมุมมองด้านการตลาด ทำให้กิจการต้องล้มลุกคลุกคลาน จนกระทั่งได้เข้ามาเป็น 1 ในผู้เริ่มต้น Hotel de Charm
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2548)
Tamarind หมู่บ้านล้านนากลางเวียง
ไม่น่าเชื่อว่าในซอยเล็กๆ ลึกไม่เกิน 50 เมตร ริมถนนราชดำเนิน ซึ่งปลูกต้นไผ่เป็นแนว 2 ข้างทาง แต่งโค้งราวกับซุ้มประตูจะซ่อนไว้ด้วยบรรยากาศของหมู่บ้านล้านนาในอดีต ที่มีเรื่องราวต่างๆ ไว้ให้นักท่องเที่ยวได้ศึกษา
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2548)
The Real Magnet
ที่สุดแล้ว แม่เหล็กที่แท้จริงในการดึงดูดนักท่องเที่ยวระดับ high-end ให้มายังเชียงใหม่ คงหนีไม่พ้นคำ 3 คำ คือ ธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม แต่ใช่ว่าจะมีเฉพาะนักลงทุนกระเป๋าหนักเท่านั้นที่สามารถผสมผสานทั้ง 3 สิ่ง ให้เข้ากับธุรกิจของเขาได้ การรวมตัวกันของ boutique hotel ขนาดเล็ก 6 แห่ง เป็นกลุ่ม Hotel de Charm เป็นอีกรูปแบบที่น่าสนใจ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2548)