"ลู เกิร์สต์เนอร์ จะพาไอบีเอ็มไปทางไหน
นับจากช่วงต้นปีที่ผ่านมา กระแสเรียกร้องให้ลูเกิร์สต์เนอร์เปิดเผยวิสัยทัศน์ของตนเองต่อการเข้ามาเป็นผู้บริหารสูงสุดของไอบีเอ็มเพิ่มขึ้นโดยลำดับ และบัดนี้ดูเหมือนว่าเกิร์สต์เนอร์พร้อมแล้วสำหรับการยืนยันทัศนะอันแจ่มชัดของเขา
นั่นก็คือว่าไอบีเอ็มเล็งเห็นวิธีการคว้าโอกาสทางธุรกิจมากขึ้นกว่าเดิมแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2536)
"การปฏิวัติครั้งใหม่ในวงการคอมพิวเตอร์"
หลังจากถือกำเนิดขึ้น และผ่านการพัฒนามา 20 ปี ไมโครโปรเซสเซอร์ หรือ "คอมพิวเตอร์บนแผ่นชิพ"
ซึ่งเป็นแผ่นซิลิคอนขนาดพอๆ กับเล็บหัวแม่มือ ก็กำลังก่อให้เกิดการปฏิวัติครั้งใหม่ในวงการคอมพิวเตอร์
เพราะบัดนี้มันทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) มีกำลังทำงานพอๆ
กับเครื่องใหญ่ขนาดเมนเฟรมแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2536)
ไอบีเอ็มคลอดหน่วยงานใหม่
ไอบีเอ็มกำลังปฏิรูปองค์กรใหม่ในส่วนธุรกิจด้านพีซีแม้ว่าความเคลื่อนไหวดังกล่าวนั้นจะ ทำเพื่อรับมือกับสภาพการแข่งขันในปัจจุบันที่เป็นไปอย่างเข้มข้นโดยมุ่งให้องค์กรดังกล่าวมีความเป็นอิสระมากขึ้น แต่ก็มิได้เป็นไปตามที่ทางบริษัทคาดหมายไว้ทั้งหมด
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
"ผ่าไอบีเอ็ม ครึ่งปีหลังปรับโครงสร้าง"
"ไอบีเอ็มได้ผ่านการปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กรครั้งใหญ่มา 6 เดือนแล้ว
จอห์น เอเคอร์ ยังคงเดินหน้าต่อไปเพื่อให้ไอบีเอ็มพ้นจากภาวะวิกฤติภายในสิ้นปีนี้"
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
เหลียวหลังแลหน้าไอบีเอ็ม : ฤา 'ยักษ์สีฟ้า' จะฝ่าคลื่นลมธุรกิจคอมพ์ไม่พ้น ?
ชั่วระยะเวลาไม่กี่เดือนที่ผ่านมา ผู้นำธุรกิจคอมพิวเตอร์ของโลกอย่างไอบีเอ็ม
ได้สร้างปรากฏการณ์ที่ทำให้โลกต้องตะลึงติดต่อกันหลายกรณีด้วยกัน นับแต่กาลที่จอห์น
เอฟ เอเคอร์ ประธานกรรมการของบริษัทออกโรงกล่าววิพากษ์วิจารณ์ถึงผลประกอบการที่ตกต่ำลงในที่ประชุมผู้บริหารระดับสูงเมื่อ 25 เมษายนที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2534)
"เมื่อไอบีเอ็มจับข่าววิจารณ์ตนเอง"
จอห์น เอฟ เอเคอร์ ประธานกรรมการไอบีเอ็ม ได้กล่าววิพากษ์วิจารณ์ผลประกอบการที่ตกต่ำลงของบริษัทในที่ประชุมผู้บริหารระดับสูง
เมื่อ 25 เมษายนที่ผ่านมา ต่อมาบันทึกการประชุมดังกล่าวก็ได้ถูกแจกจ่ายไปยังผู้บริหารระดับล่าง
และรั่วไหลออกสู่สาธารณชนในที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2534)
"ไอบีเอ็มแปรปรับกระบวนนักขายใหม่"
"ไอบีเอ็มปรับรูปขบวนนักขายใหม่ด้วยการสอนผู้จัดการช่างเทคนิคและวิศวกรให้เป็นนักขาย
ภายหลังประสบภาวะยอดขายตกต่ำเมื่อสามปีที่แล้ว"
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2532)
กฎเหล็ก 12 ข้อ ในการคบ (หรือรบ) กับไอบีเอ็ม
ย้อนกลับสู่อดีตไปในยุคที่นาย THOMAS WATSON SR. ได้ก่อตั้งบริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล
บิสิเนสมาชีน คอร์ป หรือที่ใครรู้จักอักษร 3 ตัว "IBM" นั้นนานนับได้
3 ชั่วอายุคนแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2530)
การบริหารที่เป็นเลิศกับไอบีเอ็ม
เป็นเวลานานมาแล้วจิตวิทยาการบริหารงานได้ผ่านการวิพากษ์วิจารณ์และพุ่งจุดศูนย์รวมไปที่ทฤษฎี
X หรือ Y หรืออีกนัยหนึ่งคุณค่าของการบำรุงปรุงแต่งงานให้งดงามขึ้นซึ่งในปัจจุบันก็คือทฤษฎีการสร้างคุณภาพงาน
(หรือคิวซี) นั่นเอง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2530)
ไอบีเอ็ม หยุดการบริการด้านโปรแกรมบนเครื่อง S/34
ไอบีเอ็ม (สหรัฐอเมริกา) ได้ประกาศหยุดการสนับสนุนด้านบริการโปรแกรมต่างๆ บนเครื่อง S/34 ที่เป็นเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ซึ่งแพร่หลายเมื่อหลายปีก่อนเสียแล้ว โดยกำหนดเส้นตายไว้ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2529 กล่าวคือไอบีเอ็มจะไม่มีการขายหรือปรับปรุงโปรแกรมต่างๆ ที่ได้ใช้อยู่แล้วทั้งหมด แต่ลูกค้ายังคงใช้งานต่อไปได้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)