ถึงคราวยกเครื่อง
หากเริ่มรู้สึกว่าบริการทางการแพทย์ทุกวันนี้ราคาสูงขึ้นทุกที แถมหมอยังมีเวลาให้เราน้อยลงก็ไม่ต้องแปลกใจ เพราะเหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นทุกที่ทั่วโลกและนับวันจะยิ่งรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ และหากไม่มีการเปลี่ยนแปลง หรือ "ยกเครื่อง" กันขนานใหญ่แล้ว บริการทางการแพทย์ในหลายประเทศอาจถึงทางตันได้ง่ายๆ ภายในไม่กี่ปีข้างหน้า
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2550)
M&A เกมที่จีนเพิ่งหัดเล่น
ปลายปี 2547 ข่าวการประกาศซื้อและควบรวมกิจการ (Mergers and Acquisitions-M&A) บริษัทไอบีเอ็มในส่วน PC hardware ของบริษัทคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลอันดับหนึ่งของจีน อย่าง เหลียน เสี่ยง หรือชื่อภาษาอังกฤษคือ เลโนโว (Lenovo) สร้างความตกตะลึงให้กับผู้คนในวงการธุรกิจทั่วโลก
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2549)
สารจาก Samuel J.Palmisano CEO ของ IBM
ธุรกิจหลักทั้งสามของเรา ต่างเป็นผู้นำตลาดในสินค้าหลายประเภทอยู่แล้ว แต่ธุรกิจทั้งสามไม่ได้แยกกันแบบต่างคนต่างอยู่ หากแต่ทำงานร่วมกันภายใต้รูปแบบที่กำหนดโดยการผนึกรวมและการสร้างนวัตกรรม ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นที่เราเชื่อว่า จะมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ ในการกำหนดลักษณะของธุรกิจและสังคมในศตวรรษที่ 21
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2549)
50 ปี ไอบีเอ็ม ประเทศไทย
2491 สำนักงานตัวแทนของไอบีเอ็ม คอร์ปอเรชั่น เริ่มดำเนินการ และเป็นปีที่ไอบีเอ็มได้รับเลือกให้เป็นผู้ให้บริการอุปกรณ์และวิทยาการ
สำหรับสำรวจสำมะโนประชากร และสำมะโนเกษตรกรเป็นครั้งแรก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
ที่มาของตำแหน่ง CGM
นับตั้งแต่การปรับโครงสร้างองค์กรไอบีเอ็ม ส่งผลให้ชื่อตำแหน่งของผู้นำองค์กรแห่งนี้ต้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ตำแหน่ง Managing Director หรือกรรมการผู้จัดการ เป็นการสะท้อนถึงโครงสร้างในอดีตของไอบีเอ็ม
การบริหารงานแบบเอกเทศ มีการกำหนดนโยบายที่ใช้ดำเนินธุรกิจที่เป็นรูปแบบเฉพาะของตัวเอง
เป็นส่วนหนึ่งของสำนักงานภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก กรุ๊ป (APG) ตั้งอยู่ในประเทศญี่ปุ่น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
ยักษ์สีฟ้าตื่นทวงบัลลังก์แชมป์
Sam Palmisano หัวเรือใหญ่คนใหม่ของ IBM หมายมั่นปั้นมือจะฟื้นความยิ่งใหญ่ของยักษ์สีฟ้าอีกครั้ง ยังไม่ทันที่เหล่ากรรมการบริษัท IBM จะหย่อนก้นลงนั่งเรียบร้อยดี ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทนัดแรกในรอบปีนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
ใครบอกว่าช้างตัวอ้วนเต้นรำไม่เป็น
เมื่อ Louis Gerstner ขึ้นกุมบังเหียน IBM ในตำแหน่ง CEO ในปี 1993 นั้น
IBM อยู่ในสภาพบาดเจ็บสาหัส เงินกำลังไหลออกจากบริษัทแทบหมดตัว วัฒนธรรมองค์กรที่ส่งเสริมให้ทุกคนคิดถึงแต่ตัวเองเป็นหลักกำลังทำร้ายบริษัทอย่างรุนแรง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
IBM ยักษ์ใหญ่สีฟ้าในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์
ท่ามกลางการเติบโตและทวีบทบาทมากขึ้นของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ชื่อของ
IBM (International Business Machines Corporation) ย่อมต้องถูกจัดไว้ในฐานะบรรษัทคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดของโลกแห่งหนึ่งด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2544)
ไอบีเอ็มเบนเข็ม รุกตลาดบริการ
ขณะนี้ยักษ์ใหญ่ในวงการคอมพิวเตอร์อย่างไอบีเอ็ม
หรือที่รู้จักกันในฉายา
"บิ๊ก บลู" ได้หันมาให้ความสำคัญกับการให้บริการมากกว่าเรื่องฮาร์ดแวร์เสียแล้ว
ปรากฏการณ์นี้ถือเป็นหัวใจสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลง
นโยบายของลู เกิร์สต์เนอร์ และต่ออนาคตของไอบีเอ็มโดยตรง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2542)
"ยักษ์สีฟ้าที่เกิร์สต์เนอร์ต้องการ"
1. ไอบีเอ็มจะไม่แตกบริษัทออกเป็นหน่วยธุรกิจย่อยๆ ตามวิธีของจอห์น เอเคอร์
อดีตประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ทว่าจะเน้นการเชื่อมประสานหน่วยงานต่างๆ ให้ทำงานกันอย่างใกล้ชิดมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2536)